เลขเรื่อง เซต คืออะไร สรุปเนื้อหาเซต (Set) 

เลขเรื่อง เซต คืออะไร สรุปเนื้อหาเซต (Set) 

เซต คืออะไร สรุปเนื้อหาเซต (Set) เซต คืออะไร? วิธีการเขียนเซตรูปแบบต่างๆ เซต (Set) มีกี่ชนิด เซตว่าง คืออะไร หน้าตาเป็นอย่างไร เอกภพสัมพัทธ์ เซตที่เท่ากัน สับเซต เพาเวอร์เซต แผนภาพเวนน์ การดำเนินการระหว่างเซต การแก้ปัญหาโดยใช้เซต แจกฟรี !! เอกสาร รวม 10 จุดระวังพลาด เรื่อง เซต

การเรียงลำดับจำนวนเต็มและค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม

การเรียงลำดับจำนวนเต็มและค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม

การเรียงลำดับจำนวนเต็มและค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม -การเรียงลำดับจำนวนลบ จำนวนลบ เป็นจำนวนเต็มที่มีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงให้เห็นว่าเป็นจำนวนที่มีค่าน้อยกว่า 0 จำนวน -1, -2, -3, -4, -5 เป็นจำนวนลบ ยังเรียกว่า จำนวนเต็มลบ จำนวนเต็มลบ มีค่าตรงกันข้ามกับจำนวนบวก เช่น ค่าที่มากกว่าของจำนวนลบคือจำนวนที่ลบน้อยกว่า ยกตัวอย่างเช่น -7 มีค่าน้อยกว่า -5 ในขณะที่ 7 มีค่ามากกว่า 5

 เศษส่วนอย่างต่ำและเศษส่วนที่เท่ากัน

 เศษส่วนอย่างต่ำและเศษส่วนที่เท่ากัน

 เศษส่วนอย่างต่ำและเศษส่วนที่เท่ากัน ศษส่วน และการเปรียบเทียบเศษส่วน เศษส่วนคือ จำนวนที่ใช้บอกปริมาณที่ไม่เป็นจำนวนเต็ม ซึ่งจะเขียนในรูป ab เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็ม โดยที่ b ≠ 0

คณิตศาสตร์พื้นฐาน

คณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่องจำนวนเต็ม ม.1

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 จำนวนเต็ม 1.1 จำนวนเต็ม 1.2 การบวกจำนวนเต็ม 1.3 การลบจำนวนเต็ม 1.4 การคูณจำนวนเต็ม 1.5 การหารจำนวนเต็ม 1.6 สมบัติของการบวกและการคูณจำนวนเต็ม รวมแบบฝึกหัดที่สำคัญหลากหลายรูปแบบวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตรงตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 โดยมีเนื้อหาครอบคลุมในแต่ละบท หลักการ                                                                 …

สรุปเลขเนื้อหาเรื่อง ความน่าจะเป็น (Probability) คืออะไร

สรุปเลขเนื้อหาเรื่อง ความน่าจะเป็น (Probability) คืออะไร

สรุปเลขเนื้อหาเรื่อง ความน่าจะเป็น (Probability) คืออะไร กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง กฎข้อที่ 1 ถ้าต้องการทำงานสองอย่างโดยที่งานอย่างแรกทำได้ n1วิธี และในแต่ละวิธีที่เลือกทำงานอย่างแรกนี้ มีวิธีที่จะทำงานอย่างที่สองได้ n2 วิธี จะทำงานทั้งสองอย่างนี้ได้ n1 n2 วิธี กฎข้อที่ 2 ถ้าต้องการทำงานอย่างหนึ่งมี k ขั้นตอน ขั้นตอนที่หนึ่งมีวิธีเลือกทำได้ n1วิธี ในแต่ละวิธีของขั้นตอนที่หนึ่งมีวิธีเลือกทำขั้นตอนที่สองได้ n2 วิธี ในแต่ละวิธีที่เลือกทำงานขั้นตอนที่หนึ่งและขั้นตอนที่สองมีวิธีเลือกทำขั้นตอนที่สามได้ n3วิธี เช่นนี้ เรื่อยไปจนถึงขั้นตอนสุดท้ายคือ ขั้นตอนที่ k ทำได้ nk วิธี จำนวนวิธีทั้งหมดที่จะเลือกทำงาน k อย่าง เท่ากับ n1 n2 n3 … nk วิธี กฎข้อที่ 3 จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งแตกต่างกันทั้งหมด เท่ากับ n ! วิธี กฎข้อที่ 4 จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งแตกต่างกันทั้งหมด โดยจัดทีละ r…

คณิตศาสตร์ (O-NET ม.6) สถิติ

คณิตศาสตร์ o-net ม.6 ปีการศึกษา 2565 

คณิตศาสตร์ (O-NET ม.6) สถิติ ค่ากลางของข้อมูล การวัดการกระจายของข้อมูล การหาตำแหน่งที่ของข้อมูล การวัดค่ากลางของข้อมูล

เลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ

เลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ

เลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ เรื่อง เลขยกกำลงั ที่มีเลขช้ีกำลัง เป็นจำนวนตรรกยะ ควำมหมำยและควำมแตกต่ำงของจำนวนตรรกยะ และอตรรกยะ

เลขยกกำลัง ฐาน และเลขชี้กำลัง

เลขยกกำลัง ฐาน และเลขชี้กำลัง

เลขยกกำลัง ฐาน และเลขชี้กำลัง เลขชี้กำลังเป็นจำนวนคี่ สำหรับฐานที่เป็นจำนวนลบ จะเห็นว่า (-5)3 เท่ากับ -53 แต่ (-5)3 ไม่เท่ากับ 53 ถ้าฐานเป็นจำนวนลบ เลขชี้กำลังเป็นจำนวนคี่ > ได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนลบ

เลขยกกำลังและราก

เลขยกกำลังและราก เลขยกกำลังและราก เลขยกกำลัง การยกกำลังคือการดำเนินการทางคณิตศาสตร์อย่างหนึ่ง เขียนอยู่ในรูป  an aซึ่งประกอบด้วยสองจำนวนคือ ฐาน(a ) และเลขชี้กำลัง (n )  การยกกำลังมีความหมายเหมือนการคูณซ้ำ ๆ กัน นั่นเอง และสำหรับเนื้อหาใน