การหาค่าความจริงของประพจน์

คณิตศาสตร์เสริม ( เลขเสริม ) การหาค่าความจริงของประพจน์ ในการเชื่อมประพจน์นั้นบางครั้งจะต้องใช้ตัวเชื่อมหลายตัวมาเชื่อมประพจน์ ซึ่งอาจทำให้เกิดปัญหาในการหาค่าความจริงว่าควรที่จะเริ่มต้นที่ตัวใดก่อน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการลำดับสัญลักษณ์ที่ “คลุมความ” มากที่สุดและรองลงมาตามลำดับ ตารางความจริง คือ ตารางที่สร้างขึ้นเพื่อใช้หาค่าความจริงของประพจน์

สับเซตและเพาเวอร์เซต

สับเซตและเพาเวอร์เซต

สับเซตและเพาเวอร์เซต • สับเซต บทนิยาม เซต A เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B และสามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ A ⊂B

การให้เหตุผล

การให้เหตุผล

การให้เหตุผล ประวัติการให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย และการให้เหตุผลแบบนิรนัย การตรวจสอบการอ้างเหตุผลแบบนิรนัยโดยใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในชีวิตประจำวัน

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในชีวิตประจำวัน

ประโยชน์ของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ทางคณิตศาสตร์ มีการกำหนดเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เพื่ออธิบายหรือเปรียบเทียบความสัมพันธ์โดยใช้เครื่องหมาย “=” เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ว่าเท่ากัน เช่น 3=3, x2+3=19 เป็นต้น ความสัมพันธ์นี้เรียกว่า “สมการ” ดังที่กล่าวไปในบทความครั้งก่อน ส่วนการเปรียบเทียบสิ่งที่ไม่เท่ากัน มีการกำหนดเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เพื่ออธิบายหรือเปรียบเทียบความสัมพันธ์นั้นได้แก่ เครื่องหมาย “≠” เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ว่าไม่เท่ากัน เช่น 2≠3 , x2 + 3x +1≠ 0 เป็นต้น

มารู้จักกับแบตเตอรี่ลิเธี่ยม lithium ion

แบตเตอรี่ลิเธี่ยมคืออะไร? (What is Lithium Battery?) แบตเตอรี่ลิเธี่ยม (Lithium Battery) หรือ เรียกแบบเต็มว่า แบตเตอรี่ลิเธี่ยมไออน (Lithium Ion Battery) นั้นเรียกชื่อตามการกักเก็บพลังงานในลิเธี่ยมไออน (Li ion) โดยการสร้างศักย์ไฟฟ้าให้เกิดขึ้นระหว่างขั้วบวกและขั้วลบของแบตเตอรี่และคั่นด้วยฉนวนที่เรียกว่า ตัวคั่น(Saparator)

เรื่อง อสมการ

เรื่อง อสมการ

เรื่อง อสมการ แก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ บทนิยาม  อสมการ  คือ  ประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวน โดยมีสัญลักษณ์  <  , >  ,  ≤   ,  ≥     หรือ  ≠   แสดงความสัมพันธ์