จำนวนและพีชคณิต (การบวก ลบ คูณ หาร ยกกำลังของจำนวนและตัวแปร การแก้สมการ อสมการ)

จำนวนและพีชคณิต (การบวก ลบ คูณ หาร ยกกำลังของจำนวนและตัวแปร การแก้สมการ อสมการ)

จำนวนและพีชคณิต (การบวก ลบ คูณ หาร ยกกำลังของจำนวนและตัวแปร การแก้สมการ อสมการ) นิพจน์ คือ กลุ่มตัวแปรหรือกลุ่มตัวเลขที่มีการคูณ หรือ หารกัน

เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน

เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน  ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน การเขียนเศษส่วนให้อยู่นรูปทศนิยมและการเขียนทศนิยม ให้อยู่ในรูปเศษส่วนนั้น สามารถใช้หลักการเขียน ดังนี้ 1. การเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยม แบ่งได้เป็น 2 กรณีดงันี้ 1.1 กรณีที่เศษส่วนมีตัวส่วนเป็น 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรือ … จะได้ค่าของเศษเป็นทศนิยม และมีจำนวนตำแหน่งของ

การคูณเศษส่วน ( Multiplication of Fraction )

การคูณเศษส่วน ( Multiplication of Fraction ) วิธีการ บวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน โดยปกติแล้ว ตัวที่อยู่ด้านบน คือ “ตัวเศษ” และตัวที่อยู่ล่าง เรียกว่า “ตัวส่วน” ถ้าตัวเลขเยอะไป เราสามารถใช้วิธีการตัดทอนให้มีจำนวนน้อยลงได้ จะช่วยทำให้คำนวณได้ง่ายขึ้น สูตรคณิตศาสตร์ วิธีการ บวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน มีดังนี้

ทศนิยมและเศษส่วน

ทศนิยมและเศษส่วน ทศนิยม ( Decimals ) จำนวนที่อยู่ในรูปทศนิยมประกอบด้วยสองส่วน คือ ส่วนที่เป็นจำนวนเต็มและส่วนที่เป็น ทศนิยม และมีจุด (.) คั่นระหว่ำงสองส่วนนั้น

สูตรการหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตต่างๆ

สูตรการหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตต่างๆ

สูตรการหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตต่างๆ สูตรการหาพื้นที่ข 1. สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส = ด้าน x ด้าน หรือ 1/2 x ผลคูณของเส้นทแยงมุม

สรุปตรรกศาสตร์เบื้องต้น

สรุปตรรกศาสตร์เบื้องต้น ความหมายของศัพท์ตรรกศาสตร์ คำว่า “ตรรกศาสตร์” ได้มาจากศัพท์ภาษาสันสฤตสองศัพท์คือตรฺรกและศาสตฺรตรรก หมายถึงการตรึกตรอง ความคิด ความนึกคิด และคำว่าศาสตฺร หมายถึง วิชาตำรารวมกันเข้าเป็น“ตรรกศาสตร์” หมายถึงวิชาว่าด้วยความนึกคิดอย่างเป็นระบบปราชญ์ทั่วไปจึงมีความเห็นร่วมกันว่า ตรรกศาสตร์ คือวิชาว่าด้วย การใช้กฎเกณฑ์ การใช้เหตุผล

คณิตศาสตร์ ระบบจำนวน (Number system)

 คณิตศาสตร์ ระบบจำนวน (Number system)

วิวัฒนาการของตัวเลขมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีผู้คิดค้นพัฒนามาหลายๆรูปแบบ เพื่อใช้แทนจำนวนของการนับ เช่น ชาวกรีกใช้การนับนิ้วมือหรือก้อนหิน ในสมัยอียิปต์ใช้รูปภาพแทนตัวเลขชาวบาบิโลนใช้ลิ่มเป็นสัญลักษณ์ เป็นต้น

มารู้จักโครงสร้าง Past Simple Tense Past Continuous Tense Past Perfect Tense

มารู้จักโครงสร้าง Past Simple Tense, Past Continuous Tense, Past Perfect Tense

โครงสร้าง Past Simple Tense, Past Continuous Tense, Past Perfect Tense Past Simple Tense คือ อดีตกาลธรรมดา เอาไว้เล่าเรื่องราวหรือเหตุการณ์ในอดีต โครงสร้างของประโยคก็ง่ายๆคือ ประธานตามด้วยกริยาช่อง 2 ไม่ว่าประธานตัวใดก็ตาม Subject + Verb2

มารู้จักกับแสงซินโครตรอน(Synchrotron light)

มารู้จักกับแสงซินโครตรอน(Synchrotron light) แสงซินโครตรอน (Synchrotron light) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากอนุภาคมีประจุ เช่น อิเล็กตรอนหรือโปรตอน ที่มีความเร็วสูงและเกิดความเร่ง (มีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ หรือทั้งสองอย่าง) ทำให้พลังงานจลน์บางส่วนของ

การคูณเศษส่วนและจํานวนคละ

การคูณเศษส่วนและจํานวนคละ จำนวนคละคือจำนวนเต็มประกอบเข้ากับเศษส่วนอย่างเช่น 3 ½ การคูณจำนวนคละอาจยุ่งยากสักหน่อย เพราะเราต้องแปลงจำนวนคละให้เป็นเศษเกินเสียก่อน ถ้าอยากรู้วิธีคูณจำนวนคละ ลองอ่านและทำตามขั้นตอน แปลงจำนวนคละจำนวนแรกให้เป็นเศษเกิน. เศษเกินคือจำนวนที่ตัวเศษมากกว่าตัวส่วน เราสามารถแปลงจำนวนคละเป็นเศษเกินด้วยขั้นตอนง่ายๆ ดังต่อไปนี้