ขยันอ่านสอบคณิตศาสตร์  รูปเรขาคณิตพื้นฐาน

ขยันอ่านสอบคณิตศาสตร์  รูปเรขาคณิตพื้นฐาน

ขยันอ่านสอบคณิตศาสตร์ รูปเรขาคณิตพื้นฐาน เรขาคณิตพื้นฐาน  สี่เหลี่ยม คือ รูปร่างปิดที่มีมุมสี่มุมและด้านสี่ด้านเป็นขอบเขตสี่เหลี่ยมมีหลากหลายรูปแบบ ได้แก่

การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลนี้เอง เป็นกระบวนการหนึ่งในการเรียบเรียงข้อความหรือปรากฏการณ์ต่างๆ (เหตุหรือสมมุติฐาน) ให้เกิดความสัมพันธ์กันเพื่อส่งผลให้ข้อความหรือปรากฏการณ์เหล่านั้นมีความต่อเนื่องกันจนทําให้เกิดข้อความใหม่หรือปรากฏการณ์ใหม่ (ผลหรือข้อสรุป) ขึ้นมา หรืออาจสรุปได้ว่า กระบวนการให้เหตุผลเป็นกระบวนการทางจิตใต้สำนึกที่เราใช้เป็นเครื่องมือสื่อความหมายที่เรียบเรียง ข้อเท็จจริงที่มีอยู่ก่อนหน้า (เหตุ : Premise ) เพื่อสร้างข้อเท็จจริงใหม่ (ผล : Conclusion) นั่นเอง  (การอ้างหลักฐานเพื่อยืนยันว่า “ข้อสรุป” ของเราเป็นความจริง)

เลข ม.4 เซต ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต

เลข ม.4 เซต ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต

เลข ม.4 เซต ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต ยูเนียน (Union) ยูเนียน (Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A ∪ B

พหุนาม-การบวกและการลบพหุนาม

พหุนาม-การบวกและการลบพหุนาม

พหุนาม-การบวกและการลบพหุนาม พหุนาม นิพจน์ที่อยู่ในรูปเอกนามหรืออยู่ในรูปการบวกของเอกนามตั้งแต่ 2 เอกนามขึ้นไป เรียกว่า พหุนาม แต่ละเอกนามในพหุนาม เรียกว่า พจน์ กรณีพหุนามมีบางพจน์คล้ายกัน ต้องรวมพจน์คล้ายเข้าด้วยกัน

พหุนาม เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม

พหุนาม เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม

พหุนาม เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม เอกนาม เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยเลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก

พื้นฐานคณิตศาสตร์ จำนวนเต็ม (Number Line)

พื้นฐานคณิตศาสตร์ จำนวนเต็ม (Number Line)

พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.1 เส้นจำนวน (Number Line) ในขณะที่คำจำกัดความสำหรับจำนวนเต็มอาจดูเหมือนไม่จำเป็นสำหรับบางคนมันสามารถทำให้เด็กเข้าใจคุณสมบัติของจำนวนเต็มได้ง่ายขึ้น จำนวนเต็มและจำนวนเต็มไม่เหมือนกัน