คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องจำนวนเต็ม

จำนวนเต็มคืออะไร จำนวนเต็ม คือ  จำนวนที่ไม่มีเศษส่วนและทศนิยมรวมอยู่ในจำนวนนั้น ซึ่งจำนวนเต็มจะแบ่งออกเป็น 3 แบบคือ 1. จำนวนเต็มบวก ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4 , 5 ,… 2. จำนวนเต็มลบ  ได้แก่    …,-5 , -4 , -3 , -2 , -1 3. ศูนย์  ได้แก่   0 จำนวนเต็มบวก “จำนวนเต็มบวก” หรือเรียกอีกอย่างว่า “จำนวนนับ” ก็คือ จำนวนเต็มที่มีค่ามากกว่า 0 ขึ้นไป ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5,…  นับไปเรื่อยๆ ไม่มีที่สิ้นสุด และบอกไม่ได้ด้วยว่าจำนวนนับตัวสุดท้ายคืออะไร จำนวนเต็มลบ “จำนวนเต็มลบ” หรือ “เลขติดลบ”…

การบวกและการลบพหุนาม

คณิตศาสตร์-การบวกและการลบพหุนาม ม.2

การบวกและการลบพหุนาม ม.2 เอกนาม คือ อะไร เอกนาม คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปการคูณของค่าคงตัว กับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ เช่น 3, 3xy3, 5x + 3x เป็นต้น สัมประสิทธิ์ของเอกนาม หมายถึง ค่าคงตัวที่คูณอยู่กับตัวแปรของเอกนามนั้น

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม จำนวนตรงข้าม “หากค่าของจำนวนที่อยู่ห่างจาก 0 เท่ากัน แต่อยู่ต่างทิศทางกันมีค่าเท่ากันหรือไม่” (ค่าไม่เท่ากัน)  ทราบหรือไม่ว่า จำนวนที่อยู่ทิศทางต่างกันแต่มีระยะห่างจาก 0 เท่ากัน คือ จำนวนอะไร (จำนวนตรงข้าม) ยกตัวอย่าง ดังนี้ เช่น      จำนวนตรงข้ามของ 4 เขียนแทนด้วย -4 จำนวนตรงข้ามของ -4 เขียนแทนด้วย -(-4) และเนื่องจากจำนวนตรงข้ามของ -4 คือ 4

การบวกลบจำนวนเต็ม

การบวกลบจำนวนเต็ม

การบวกลบจำนวนเต็ม ผลบวกระหว่างจำนวนเต็มบวก  2  จำนวน  หรือ  จำนวนเต็มลบ  2  จำนวน จะมีค่าเท่ากับค่าบวกหรือค่าลบของผลบวกค่าสัมบูรณ์ตามลำดับผลบวกระหว่างจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ  คือ  ผลต่างระหว่างค่าสัมบูรณ์ทั้งสองโดยใช้ค่าสัมบูรณ์มากกว่าเป็นตัวตั้ง  แล้วใส่เครื่องหมายตามตัวมากกว่า

การบวกจำนวนเต็ม คณิตศาสตร์

การบวกจำนวนเต็ม คณิตศาสตร์

การบวกจำนวนเต็ม การบวกจำนวนเต็มชนิดเดียวกัน หลักการ คือ ให้นำค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มนั้นมาบวกกัน ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจำนวนเต็มบวกหรือจำนวนเต็มลบตามชนิดของจำนวนที่นำมาบวกกัน

จำนวนเฉพาะและจำนวนประกอบ

ตัวประกอบและตัวประกอบจำนวนเฉพาะ

ตัวประกอบและตัวประกอบจำนวนเฉพาะ ตัวประกอบและตัวประกอบจำนวนเฉพาะ      จำนวนใดก็ตามที่มีตัวประกอบเพียง 2 ตัว คือ 1 และตัวมันเอง เรียกจำนวนนั้นว่า จำนวนเฉพาะ

พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร

พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร ปริซึม สิ่งของรอบๆ ตัวเราหลายอย่างมีลักษณะเป็นปริซึม เช่น กล่องยาสีฟันมีลักษณะเป็นปริซึมสี่เหลี่ยม กล้องสลับลายมีลักษณะเป็นปริซึมสามเหลี่ยม รวมถึงของใช้ในชีวิตประจำวันอีกมากมาย ในทางคณิตศาสตร์ปริซึมมีลักษณะ ดังนี้