Frequency adverbs (คำกริยาวิเศษณ์แสดงความถี่)

Frequency adverbs (คำกริยาวิเศษณ์แสดงความถี่)-ภาษาอังกฤษ

Frequency adverbs (คำกริยาวิเศษณ์แสดงความถี่)-ภาษาอังกฤษ Adverb of Indefinite Frequency (กริยาวิเศษณ์บอกความถี่ไม่ชัดเจน) จะบอกความถี่คร่าว ๆ ว่าเหตุการณ์หรือการกระทำนั้นเกิดขึ้นบ่อยแค่ไหน ซึ่งแต่ละคำจะมี

คุณสมบัติของจำนวนจริง(Properties of Real Numbers) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

คุณสมบัติของจำนวนจริง(Properties of Real Numbers) เนื่องจากว่า สมบัติของจำนวนจริงมีเยอะมาก ในที่นี้จะนำเสนอเฉพาะที่คิดว่าสำคัญแล้วกันนะครับ ถ้าให้ a, b และ c เป็นจำนวนจริงใดๆ แล้ว จะได้ว่าจำนวนจริงจะมีสมบัติดังต่อไปนี้

จำนวนจริง (Real number)

ระบบจำนวนจริง (Real number) ระบบจำนวนจริง (Real Number) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย จำนวนจริง (Real Number) ระบบจำนวนเลขเท่าที่มนุษย์คิดค้นพบในขณะนี้ประกอบด้วยเลขจำนวน 2 ระบบ คือ 1. ระบบจำนวนจริง (Real Number System) 2. ระบบจำนวนเชิงซ้อนประเภทจินตภาพ (Imaginary Number System)

การหาค่าความจริงของประพจน์

การหาค่าความจริงของประพจน์

การหาค่าความจริงของประพจน์ ตารางค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมแบบต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วมีไว้เพื่อช่วยในการหาค่าว่าประพจน์ใดเป็นจริงหรือเป็นเท็จ เมื่อทราบค่าความจริงของประพจน์ย่อย ดังตัวอย่างต่อไปนี้

คณิตศาสตร์-สมบัติและลักษณะของพีระมิดและการหาปริมาตร ของรูปทรงอื่นๆ

สมบัติและลักษณะของพีระมิด พีระมิด คือ วัตถุทรงสามมิติซึ่งฐานเป็นรูปหลายเหลี่ยม มีหน้าทุกหน้า (ผิวข้าง) เป็นรูปสามเหลี่ยมโดยมีจุดยอดร่วมกันที่จุดหนึ่ง ทั้งนี้ยอดไม่อยู่ในระนาบเดียวกับฐาน

คณิตศาสตร์ ม. 3 เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร

คณิตศาสตร์ ม. 3 เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร

   คณิตศาสตร์ ม. 3 เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร – ภาคตัดกรวย – ปริมาตรทรงกรวย (animation) ภาคตัดกรวย ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง เส้นโค้งที่ได้จากการตัดพื้นผิวกรวยกลม ด้วยระนาบแบน ภาคตัดกรวยนี้ถูกตั้งเป็นหัวข้อศึกษาตั้งแต่สมัย 200 ปีก่อนคริสต์ศักราชโดย อพอลโลเนียส แห่ง เพอร์กา ผู้ซึ่งศึกษาภาคตัดกรวยและค้นพบสมบัติหลายประการของ

จำนวนจริง(Real Number)-คณิตศาสตร์

จำนวนจริง(Real Number)-คณิตศาสตร์

จำนวนจริง(Real Number) 1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น √2 , √3, √5, -√2, – √3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่า 3.14159265… 2. จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น

ตรรกศาสตร์ (Logic)

ตรรกศาสตร์ (Logic) ม.ปลาย

ตรรกศาสตร์ (Logic) ตรรกวิทยา (Logic) มาจากรากศัพท์ ในภาษากรีกว่า “Logos” และความหมายของคำว่า logos ตามรากศัพท์เดิมในภาษากรีก หมายถึง คำพูด การพูด เหตุผล สมมุติฐาน สุนทรพจน์ คำกรีกที่มีรากศัพท์มาจาก logos เช่น logistikon มีความหมายถึง การอธิบาย การให้รายละเอียด นอกจากนี้ยังมีความหมาย หมายถึง คำสัญญา แต่อย่างไรก็ตามความหมาย ที่ซ่อนอยู่ของคำว่า Logic คือ การคิด นั่นเอง ตรรกวิทยามิใช่เรื่องราวของปรัชญาโดยตรง แต่มีความสำคัญในฐานะเป็นเครื่องมือในการคิดทางปรัชญา เพื่อค้นหาเหตุผลและความถูกผิดในการโต้แย้งที่ต่างกัน

คณิตศาสตร์เรื่อง การประมาณค่า

คณิตศาสตร์เรื่อง การประมาณค่า

คณิตศาสตร์เรื่อง การประมาณค่า ค่าประมาณ ในชีวิตประจำวันของคนเราเมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่มีการแข่งขัน หรือ ต้องมีการตัดสินใจอย่างรวดเร็ว เราต้องใช้ค่าประมาณมาช่วยในการคำนวณอย่างคร่าวๆ การประมาณ คือ การหาค่าซึ่งไม่ใช่ค่าที่แท้จริง แต่มีความละเอียดเพียงพอกับการนำไปใช้ การประมาณค่า คือ การคำนวณที่ต้องการคำตอบตัวเลือกอย่างรวดเร็ว ใกล้เคียงและเหมาะสมกับการนำไปใช้ ซึ่งสามารถทำได้โดยการประมาณจำนวนต่างๆที่เกี่ยวข้องแล้วนำค่าที่ได้มาคำนวณหาผลลัพธ์ ค่าประมาณ คือ ค่าที่ได้จากการประมาณและการประมาณค่า โดยทั่วไปจะใช้สัญลักษณ์ แทนคำว่า มีค่าประมาณ

เนื้อหาคณิต ม.1 เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน และ รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ

เนื้อหาคณิต ม.1 เทอม 1 ประกอบด้วย  จำนวนเต็ม การสร้างทางเรขาคณิต เลขยกกำลัง ทศนิยมและเศษส่วน รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ