พีระมิด กรวย และทรงกลม-คณิตศาสตร์ ม.ต้น
พีระมิด กรวย และทรงกลม 3.1 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของพีระมิด 3.2 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของกรวย 3.3 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของทรงกลม
พีระมิด กรวย และทรงกลม 3.1 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของพีระมิด 3.2 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของกรวย 3.3 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของทรงกลม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 เรื่อง วงกลม 2.1 มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม 2.2 คอร์ดของวงกลม 2.3 เส้นสัมผัสวงกลม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ขั้นตอนการสร้างขั้นพื้นฐานทางเรขาคณิต บทเรียน การแบ่งส่วนของเส้นตรง 1.1 การแบ่งส่วนของเส้นตรง โดยการแบ่งครึ่ง ต้องการแบ่งครึ่ง กข มีขั้นตอนดังนี้ 1. ให้ จุด ก และ จุด ข เป็นจุดศูนย์กลางของวงเวียน กางวงเวียนให้กว้างพอประมาณแต่ต้องมีขนาดกว้างกว่าความยาวครึ่งหนึ่งของ กข เพื่อสร้างส่วนโค้งที่มีรัศมียาวกว่าครึ่งหนึ่งของ กข จากนั้นเขียนส่วนโค้งให้ตัดกันที่ จุด ค และ จุด ง 2. ลากส่วนของเส้นตรงผ่านจุดตัดจุด ค และ จุด ง จะได้ คง ซึ่งตัดกับ กข ที่จุด จ ซึ่งจุด จ คือจุดกึ่งกลาง กข และจากวิธีการแบ่งครึ่งส่วนของเส้นตรง กข สามารถนำวิธีการดังกล่าวมาแบ่ง กจ และ จข จะได้ กข แบ่งออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กัน…
ความน่าจะเป็น ม.3 4.1 โอกาสของเหตุการณ์ 4.2 ความน่าจะเป็น การคำนวณเหตุการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้น
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 5.1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ 5.2 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม 5.3 การนำอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา เนื้อหาทั้งหมดตามหลักสูตรของ สสวท.
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ การใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ เป็นทฤษฎีที่ช่วยในการหาเศษจากการหารของพหุนาม เช่น หากเราต้องการหาเศษจากการหารพหุนาม 2×2−5x+6ด้วย x -33333 – 3 ถ้าเราตั้งหารยาวตรงๆ เพื่อที่จะหาเศษนั้นมันจะยุ่งยากและยาวมาก…เพื่อเลี่ยงความยุ่งยากนี้เราก็มีเครื่องมือๆหนึ่ง….ซึ่งก็คือ ทฤษฎีบทเศษเหลือ เพื่อช่วยในการหาเศษจากการหารพหุนามนั้นเอง
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่อง พาราโบลา สมการพาราโบลา สมการของ พาราโบลา คือ สมการที่สามาเขียนให้อยู๋ในรูป y = Ax + Bx + C โดยที่ a ≠ 0 โดยทั่วไปแล้ว เพื่อความสะดวกในการทำโจทย์เราจะพยายามแปลงสมการพาราโบลาให้อยู่ในรูปของ y=(x-h)2+k พาราโบลา คือ กราฟที่เป็นเส้นโค้ง ไม่เป็นเส้นตรง สมการพาราโบลามี 5 แบบ ได้แก่ 1. y=ax2 2. y=ax2+k 3. y=a(x-h)2 4. y=a(x-h)2+k 5. y=ax2+bx+c สมการพาราโบลาจะมีคุณสมบัติอยู่ 6 ข้อ คือ 1. จุดยอดคือ จุด (h,k) 2. ถ้า a > 0 กราฟพาราโบลาจะเปิดด้านบน(พาราโบลาจะหงาย)…
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่อง จำนวนและตัวเลข จำนวน(Number)เป็นการเปรียบเทียบให้ทราบว่ามากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากัน (เพราะการเปรียบเทียบของแต่ละบุคคลไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับความรู้สึก) มนุษย์จึงคิดค้นสัญลักษณ์ขึ้นมา เพื่อใช้กำกับจำนวนที่เรียกว่า ตัวเลข ตัวเลข(Numerial) คือสัญลักษณ์ที่ที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมานั้น แต่ละชาติแต่ละภาษาต่างก็คิดขึ้นมาใช้