ความสัมพันธ์ (RELATION) ในเรื่องฟังก์ชัน

ความสัมพันธ์ (RELATION) ในเรื่องฟังก์ชัน

ความสัมพันธ์ (RELATION)  Rเป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ R เป็นสับเซตของ A X B โดเมน (Domain) และ เรนจ์ (พิสัย) (Range) โดเมน (Domain) ของความสัมพันธ์ r คือ เซตที่มีสมาชิกตัวหน้าของทุกคู่อันดับในความสัมพันธ์ r ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย Dr ดังนั้น  Dr = {x | (x, y) ε r}  เรนจ์ (Range) ของความสัมพันธ์ r คือ เซตที่มีสมาชิกตัวหลังของทุกคู่อันดับในความสัมพันธ์ r ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย R rดังนั้น  Rr = {y | (x, y) ε r}

ภาคตัดกรวยวิธีทางเรขาคณิตวิเคราะห์ (analytic geometry]

การศึกษาภาคตัดกรวยวิธีทางเรขาคณิตวิเคราะห์ (analytic geometry] การศึกษาภาคตัดกรวยสามารถศึกษาได้หลายแนวทาง ในที่นี้จะศึกษาภาคตัดกรวยโดยใช้วิธีทางเรขาคณิตวิเคราะห์

วิธีการใช้ A, An และ The ในสิ่งที่เรายังสับสนตลอด

วิธีการใช้ A, An และ The ในสิ่งที่เรายังสับสนตลอด

นภาษาอังกฤษ ถ้าไม่มี Article: A, An, The ถือว่าผิดไวยากรณ์ในแบบที่ English Native Speaker หรือคนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักฟังแล้วจะรู้สึกสับสนทันที การใช้ A, An, The ถ้าผมลืมใช้ A, An, The ประโยคอาจจะเป็นแบบนี้ได้ Incorrect : I am reading article. ในภาษาไทยอาจจะถือเป็นเรื่องปกติ เพราะเราสามารถเขียนว่า “ฉันกำลังอ่านบทความอยู่” แต่ในภาษาอังกฤษ เราต้องมี A, An, The

👍ติวสรุปเนื้อหาคณิตฯ ม.ปลาย คณิต A-Level กับคอร์สล่าสุด

ติวสรุปเนื้อหาคณิตฯ ม.ปลาย คณิต A-Level กับคอร์สล่าสุด ติวสรุปเนื้อหาคณิตฯ ม.ปลาย เน้นบทที่ควรติวเพื่อเก็บให้ได้ เพื่อสอบ คณิตฯ A-Level ในเวลาที่เหลือไม่มาก ต้องเจาะให้ตรงจุด คอร์สระยะสั้นโค้งสุดท้ายก่อนสอบจริง เพิ่มความมั่นใจ เพิ่มคะแนน ในระยะเวลาไม่นาน ด้วยประสบการณ์ที่พี่อุ๋ยไปร่วมสอบกับ

ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น

กราฟ-ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นกราฟ

กราฟ-ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นกราฟ   อาจจะได้แผนภาพดังนี้ สมมติ ว่าจังหวัดหนึ่งมี 6 อำเภอ คือ A  ,  B , C , D , E  และ F โดยที่อำเภอ A , B  และ F  มีถนนเชื่อมติดต่อกัน 

ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial Function)

👍ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial Function) คณิตศาสตร์gเบิ้องต้น

ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial Function) สมการพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนจริง   อาจไม่มีคำตอบที่เป็นจำนวนจริง เช่น สมการ   x2 + 1 = 0  ,   x2 +  x  1  =  0   ทฤษฎีบทต่อไปนี้ยืนยันว่าสมการพหุนามจะมีคำตอบเป็นจำนวนเชิงซ้อนเสมอ

พื้นฐานคณิตเรื่องอนุกรมเลขคณิต

พื้นฐานคณิตเรื่องอนุกรมเลขคณิต

อนุกรมเลขคณิต  อนุกรมคือ ผลจากการบวกสมาชิกทุกตัวของลำดับไม่จำกัดเข้าด้วยกัน หากกำหนดให้ลำดับของจำนวนเป็น  อนุกรมของลำดับนี้ก็คือ       อนุกรมสามารถเขียนแทนได้ด้วย  สัญลักษณ์ของผลรวม∑ เช่นตัวอย่างนี้เป็นอนุกรมของลำดับ  

พื้นฐานคณิตเรื่องอนุกรมเรขาคณิต

พื้นฐานคณิตเรื่องอนุกรมเรขาคณิต

อนุกรมเรขาคณิต บทนิยาม  อนุกรมที่ได้จาก ลำดับเรขาคณิต เรียกว่า อนุกรมเรขาคณิต และ อัตราส่วนร่วมของลำดับเรขาคณิต จะเป็นอัตราส่วนร่วมของ อนุกรมเรขาคณิตด้วย กำหนด a1, a1r, a1r2, …, a1r n-1     เป็นลำดับเรขาคณิต จะได้    a1 + a1r + a1r2 + … + a1r n-1    เป็นอนุกรมเรขาคณิต ซึ่งมี   a1 เป็นพจน์แรก และ r เป็นอัตราส่วนร่วมของอนุกรมเรขาคณิต