การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต – ชีววิทยา

การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาซึม (Amoeboid Movement)  ภายในไซโทพลาซึมมีไมโครฟิลาเมนต์ เป็นเส้นใยโปรตีนแอกทินและไมโอซิน ซึ่งเป็นโครงสร้างที่ทำให้เอนโดพลาซึมไหลไปมาภายในเซลล์ได้และดันเยื่อหุ้มเซลล์ให้โป่งออกมาเป็นขาเทียม (pseudopoda) ทำให้อะมีบาเคลื่อนไหวได้ เรียกว่า การเคลื่อนไหวแบบอะมีบา (amoeboid movement)

พลวัตการเรียนรู้ (Learning Dynamic) 

พลวัตการเรียนรู้ (Learning Dynamic) 

พลวัตการเรียนรู้ (Learning Dynamic) หมายถึง การให้โอกาสหรือสร้างการเรียนรู้แก่บุคลากรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้ตอบสนองเป้าหมายขององค์กร

A-Level คืออะไร? คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 และ 2

A-Level คืออะไร? คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 และ 2 แตกต่างกันอย่างไร มาดูกัน

A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 คืออะไร? มาดูกัน ข้อสอบ A-Leve l คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ออกเรื่องอะไรบ้าง A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 รวมถึงวิชา A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2

การหารากที่ 2 โดยวิธีการตั้งหาร

การหารากที่ 2 โดยวิธีการตั้งหาร

การหารากที่สองโดยวิธีตั้งหาร จะเห็นว่าการหารากที่สองโดยที่ผ่านมานั้นเป็นการหาเฉพาะตัวเลขง่าย ๆ แต่สำหรับวิธีการตั้งหารสำหรับวิธีเหมาะสำหรับตัวเลขที่มีสามหลักขึ้นไป หรือตัวเลขที่เป็นทศนิยม โดยมีวิธีการดังต่อไปนี้

กำหนดการเชิงเส้น หรือ Linear Programming

กำหนดการเชิงเส้น กำหนดการเชิงเส้น หรือ Linear Programming คือ แขนงหนึ่งของคณิตศาสตร์ประยุกต์ที่ถูกพัฒนาขึ้นจากทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1940 ซึ่งกำหนดการเชิงเส้นนี้เป็นเทคนิคอย่างหนึ่งในการตัดสินใจ กราฟของอสมการเชิงเส้น กราฟของระบบอสมการเชิงเส้น การแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นโดยวิธีใช้กราฟ

จำนวนและตัวเลข

จำนวนและตัวเลข

จำนวนและตัวเลข จำนวน(Number)เป็นการเปรียบเทียบให้ทราบว่ามากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากัน (เพราะการเปรียบเทียบของแต่ละบุคคลไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับความรู้สึก) มนุษย์จึงคิดค้นสัญลักษณ์ขึ้นมา เพื่อใช้กำกับจำนวนที่เรียกว่า ตัวเลข ตัวเลข(Numerial) คือสัญลักษณ์ที่ที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมานั้น แต่ละชาติแต่ละภาษาต่างก็คิดขึ้นมาใช้

ทศนิยมและเศษส่วน (decimals and fractions)

ทศนิยมและเศษส่วน (decimals and fractions)

ทศนิยมและเศษส่วน ทศนิยม ทศนิยมได้ถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวันอย่างกว้างขวาง เช่น การวัดความยาว อุณหภูมิของอากาศ การคิดราคาสินค้า การคิดภาษี เป็นต้น ทั้งนี้ เนื่องจากการใช้หน่วยที่เป็นจำนวนเต็มนั้นไม่เพียงพอ ยังมีปริมาณที่เป็นเศษของหน่วยหรือไม่เต็มหน่วย จึงต้องมีระบบการเขียนตัวเลขแทนปริมาณเหล่านั้น ที่เรียกว่า ระบบทศนิยม ซึ่งตกลงกันเป็นสากลให้ใช้ จุด ” . ” เรียกว่า “จุดทศนิยม” คั่นระหว่างจำนวนเต็มกับ เศษของหน่วย

ตัวหารร่วมมาก และ ตัวคูณร่วมน้อย

ตัวหารร่วมมาก และ ตัวคูณร่วมน้อย

ตัวประกอบและการหาตัวประกอบ จำนวนนับ คือ จำนวนเต็มบวก ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, … การหารลงตัว คือ การหารที่ไม่มีเศษ หรือเศษเป็น “0” ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ คือ จำนวนนับที่นำไปหารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว จำนวนเฉพาะ คือ จำนวนนับที่มีตัวประกอบเพียงสองตัว คือ 1 กับจำนวนนับนั้น ตัวประกอบเฉพาะ คือ ตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบของจำนวนใด ๆ คือ การเขียนจำนวนนั้นในรูป ผลคูณของตัวประกอบเฉพาะ (อาจจะมีตัวประกอบมากกว่า 2 จำนวน ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) คือ ตัวหารร่วม (หรือตัวประกอบร่วม) ที่มีค่ามากที่สุด ที่นำไปหารจำนวนนับชุดใด(ตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป) ได้ลงตัว เช่น ห.ร.ม. ของ 12 และ 16 คือ 4 เพราะ 4 คือจำนวนที่มากที่สุดที่หารทั้ง 12 และ…