ภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์(Faculty of Medicine) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง

ภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์(Faculty of Medicine) คณะแพทยศาสตร์ประกอบด้วย 21 ภาควิชา ได้แก่ 1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) 2. จิตเวชศาสตร์ (Psychiatry) 3. จุลชีววิทยา (Microbiology) 4. นิติเวชศาสตร์ (Forensic Medicine) 5. ปรสิตวิทยา (Parasitology) 6. พยาธิวิทยา (Pathology) 7. เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม (Preventive and Social Medicine) 8. สรีรวิทยา (Physiology) 9. กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics) 10. จักษุวิทยา (Ophthalmology) 11. ชีวเคมี (Biochemistry) 12. เภสัชวิทยา (Pharmacology) 13. รังสีวิทยา (Radiology) 14. วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology) 15. เวชศาสตร์ชันสูตร(Laboratory…

เรียนแพทย์มีกี่สาขาของแพทย์เฉพาะทาง

สาขาของแพทย์เฉพาะทาง อายุรแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอายุรศาสตร์ สูตินรีแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสูตินรีเวชวิทยา ศัลยแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์ ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (ศัลยกรรมกระดูกและข้อ) จักษุแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านจักษุวิทยา จิตแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตเวชศาสตร์ แพทย์โสตศอนาสิก – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโสตศอนาสิกวิทยา พยาธิแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านพยาธิวิทยา รังสีแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านรังสีวิทยา วิสัญญีแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านวิสัญญีวิทยา กุมารแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์ แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชปฏิบัติครอบครัว แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน

การศึกษาไทยในยุค Thailnad 4.0

 การเข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 เป็นการเข้าสู่ยุคที่ประเทศไทยต้องมีนวัตกรรมเป็นของตนเอง ไม่ต้องพึ่งจากต่างชาติ ซึ่งเป็นโจทย์ที่ท้ายทายสูงมากๆ ทำอย่างไรเราจะพัฒนานวัตกรรมเป็นของตนเองได้ทั้งๆ ที่เรามีทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศมากมาย เช่น ข้าว ยางพารา แร่ ผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆ เราทำอย่างไรที่จะมีผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเรื่องข้าวที่มากกว่าอาหารประจำวัน เราทำอย่างไรที่จะมีผลิตภัณฑ์ยางพารา นอกเหนือจากนํ้ายางพารา หรืออื่นๆ ที่เป็นนวัตกรรมของเรา เราเคยมีวิทยุ โทรทัศน์ยี่ห้อธานินท์ ซึ่งเป็นของคนไทยผลิตโดยคนไทย แต่เสียดายไม่ได้ต่อยอดและต้องปิดตัวเองไป ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนต้องเข้ามาช่วยระดมความคิดในการพัฒนาประเทศให้เข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 ฉะนั้นแต่ละกระทรวงจึงมีสโลแกนของตัวเองต่อด้วย 4.0 กระทรวงศึกษาฯเองก็มีสโลแกน “การศึกษา 4.0” ส่วนรายละเอียดผู้เขียนเองก็ไม่เห็นแผนแม่บทว่าจะเดินอย่างไร     การศึกษา 1.0 เป็นยุค พ.ศ. 2503 หรือเราเรียกว่า หลักสูตร 2503 (ซึ่งก่อนหน้านี้ตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา ในปี พ.ศ. 2464 ส่วนใหญ่จะเป็นการเรียนตามตำรา ไม่ได้กำหนดเป็นหลักสูตร) เป็นยุคที่เน้นให้นักเรียนเกิดทักษะ 4 ด้าน คือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา การวัดผลวัดเป็นองค์รวม โดยตัดสินเป็นร้อยละ…