การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ การใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ เป็นทฤษฎีที่ช่วยในการหาเศษจากการหารของพหุนาม  เช่น หากเราต้องการหาเศษจากการหารพหุนาม 2×2−5x+6ด้วย  x -33333 – 3    ถ้าเราตั้งหารยาวตรงๆ เพื่อที่จะหาเศษนั้นมันจะยุ่งยากและยาวมาก…เพื่อเลี่ยงความยุ่งยากนี้เราก็มีเครื่องมือๆหนึ่ง….ซึ่งก็คือ ทฤษฎีบทเศษเหลือ เพื่อช่วยในการหาเศษจากการหารพหุนามนั้นเอง

พาราโบลา

คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่อง พาราโบลา

คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่อง พาราโบลา สมการพาราโบลา สมการของ พาราโบลา คือ สมการที่สามาเขียนให้อยู๋ในรูป y = Ax + Bx + C โดยที่ a ≠ 0 โดยทั่วไปแล้ว เพื่อความสะดวกในการทำโจทย์เราจะพยายามแปลงสมการพาราโบลาให้อยู่ในรูปของ y=(x-h)2+k พาราโบลา คือ กราฟที่เป็นเส้นโค้ง ไม่เป็นเส้นตรง  สมการพาราโบลามี 5 แบบ ได้แก่ 1.  y=ax2 2.  y=ax2+k 3. y=a(x-h)2 4. y=a(x-h)2+k 5. y=ax2+bx+c สมการพาราโบลาจะมีคุณสมบัติอยู่ 6 ข้อ คือ 1. จุดยอดคือ จุด (h,k) 2. ถ้า a > 0  กราฟพาราโบลาจะเปิดด้านบน(พาราโบลาจะหงาย)…