ภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์(Faculty of Medicine) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง

ภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์(Faculty of Medicine) คณะแพทยศาสตร์ประกอบด้วย 21 ภาควิชา ได้แก่ 1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) 2. จิตเวชศาสตร์ (Psychiatry) 3. จุลชีววิทยา (Microbiology) 4. นิติเวชศาสตร์ (Forensic Medicine) 5. ปรสิตวิทยา (Parasitology) 6. พยาธิวิทยา (Pathology) 7. เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม (Preventive and Social Medicine) 8. สรีรวิทยา (Physiology) 9. กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics) 10. จักษุวิทยา (Ophthalmology) 11. ชีวเคมี (Biochemistry) 12. เภสัชวิทยา (Pharmacology) 13. รังสีวิทยา (Radiology) 14. วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology) 15. เวชศาสตร์ชันสูตร(Laboratory…

Details

เรียนแพทย์มีกี่สาขาของแพทย์เฉพาะทาง

สาขาของแพทย์เฉพาะทาง อายุรแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอายุรศาสตร์ สูตินรีแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสูตินรีเวชวิทยา ศัลยแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์ ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (ศัลยกรรมกระดูกและข้อ) จักษุแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านจักษุวิทยา จิตแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตเวชศาสตร์ แพทย์โสตศอนาสิก – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโสตศอนาสิกวิทยา พยาธิแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านพยาธิวิทยา รังสีแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านรังสีวิทยา วิสัญญีแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านวิสัญญีวิทยา กุมารแพทย์ – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์ แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชปฏิบัติครอบครัว แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน – แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน

Details

การศึกษาไทยในยุค Thailnad 4.0

 การเข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 เป็นการเข้าสู่ยุคที่ประเทศไทยต้องมีนวัตกรรมเป็นของตนเอง ไม่ต้องพึ่งจากต่างชาติ ซึ่งเป็นโจทย์ที่ท้ายทายสูงมากๆ ทำอย่างไรเราจะพัฒนานวัตกรรมเป็นของตนเองได้ทั้งๆ ที่เรามีทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศมากมาย เช่น ข้าว ยางพารา แร่ ผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆ เราทำอย่างไรที่จะมีผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเรื่องข้าวที่มากกว่าอาหารประจำวัน เราทำอย่างไรที่จะมีผลิตภัณฑ์ยางพารา นอกเหนือจากนํ้ายางพารา หรืออื่นๆ ที่เป็นนวัตกรรมของเรา เราเคยมีวิทยุ โทรทัศน์ยี่ห้อธานินท์ ซึ่งเป็นของคนไทยผลิตโดยคนไทย แต่เสียดายไม่ได้ต่อยอดและต้องปิดตัวเองไป ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนต้องเข้ามาช่วยระดมความคิดในการพัฒนาประเทศให้เข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 ฉะนั้นแต่ละกระทรวงจึงมีสโลแกนของตัวเองต่อด้วย 4.0 กระทรวงศึกษาฯเองก็มีสโลแกน “การศึกษา 4.0” ส่วนรายละเอียดผู้เขียนเองก็ไม่เห็นแผนแม่บทว่าจะเดินอย่างไร     การศึกษา 1.0 เป็นยุค พ.ศ. 2503 หรือเราเรียกว่า หลักสูตร 2503 (ซึ่งก่อนหน้านี้ตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา ในปี พ.ศ. 2464 ส่วนใหญ่จะเป็นการเรียนตามตำรา ไม่ได้กำหนดเป็นหลักสูตร) เป็นยุคที่เน้นให้นักเรียนเกิดทักษะ 4 ด้าน คือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา การวัดผลวัดเป็นองค์รวม โดยตัดสินเป็นร้อยละ…

Details

หลักการใช้ Yes-No Question คำถามที่ต้องตอบ ใช่-ไม่ใช่

1. ถามนำขึ้นต้นด้วย Verb to be ถ้าประโยคนั้นมี Verb to be ให้นำมาวางข้างหน้าได้เลย ดังเช่นรูปประโยคต่อไปนี้ ประโยคบอกเล่า ประโยคคำถาม การตอบ   He is a teacher. (เขาคือคุณครู)   Is he a teacher? (เขาคือคุณครูใช่ไหม?)   Yes, he is. (ใช่ เขาเป็น) No, he isn’t. (ไม่ เขาไม่ได้เป็น)   You are Japanese. (คุณเป็นคนญี่ปุ่น)   Are you Japanese? (คุณเป็นคนญี่ปุ่นใช่ไหม?)   Yes. I’m. (ใช่ ฉันเป็น) No, I’m not.…

Details

การเติม s ที่ท้ายคำ

คำกริยาภาษาอังกฤษเมื่อใช้ในประโยคที่มีประธานเป็นพหูพจน์ก็จะต้องเติม -s หรือ -es ท้ายคำ แต่เคยสังเกตุกันบ้างไหมว่าคำไหนต้องเติม -s คำไหน -es

Adverbs of frequency (กริยาวิเศษณ์บอกความถี่)

Adverbs of frequency (กริยาวิเศษณ์บอกความถี่) ในภาษาอังกฤษมีการใช้สิ่งที่เรียกว่า Adverbs of frequency (กริยาวิเศษณ์บอกความถี่) เพื่อบอกความบ่อยครั้งในการเกิดเหตุการณ์หรือความถี่ในสิ่งที่เราทำ ปกติแล้วกริยาวิเศษณ์บอกความถี่จะใช้คู่กับประโยคแบบ Present simple tense (รูปกาลปัจจุบัน) เพราะประโยคแบบนี้มักจะใช้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ เป็นกิจวัตรนั่นเอง

Details

หลักการใช้ Present simple กับ Present continuous

Present Simple Tense Present Simple Tense คือ การพูดถึงเรื่องทั่วไป เรื่องที่ทำซ้ำ ๆ ในปัจจุบัน โครงสร้างประโยคของ Present Simple Tense – S + V.1 ถ้าประธานเป็นเอกพจน์บุรุษที่ 3 (He, She, It, The library, a dog, etc…) กริยาต้องเติม s/es He drives a taxi. She eats pizza. I live in Bangkok. – S + Auxiliary Verb (กริยาช่วย) + V.1 (V.1 ไม่เติม s/es) She can play tennis. We must work hard. หลักการใช้ Present…

Details

ฟิสิกส์ที่กระเทือนชีวิตมนุษย์

1.กฎการตกของวัตถุ (The Law of Falling Bodies) ค้นพบในปี 1604 กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei) นักวิทยาศาสตร์ผู้หาญกล้าล้มแนวคิดของอริสโตเติล (Aristotel) ที่ผู้คนเชื่อถือมากว่า 2,000 ปี ว่าวัตถุที่หนักกว่าจะตกถึงพื้นได้เร็วกว่าวัตถุที่เบากว่า โดยเขาได้ทำการพิสูจน์ว่าวัตถุต่างๆ แม้จะมีน้ำหนักไม่เท่ากันแต่จะตกถึงพื้นพร้อมกัน2.แรงโน้มถ่วงของจักรวาล (Universal Gravitation) ค้นพบในปี 1666ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton) ได้สรุปว่าวัตถุทุกอย่างในจักรวาล ตั้งแต่ลูกแอปเปิลถึงดวงดาวจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน

Details