Noun action verbs
Common Action Verbs
คำกริยาภาษาอังกฤษเมื่อใช้ในประโยคที่มีประธานเป็นพหูพจน์ก็จะต้องเติม -s หรือ -es ท้ายคำ แต่เคยสังเกตุกันบ้างไหมว่าคำไหนต้องเติม -s คำไหน -es
Adverbs of frequency (กริยาวิเศษณ์บอกความถี่) ในภาษาอังกฤษมีการใช้สิ่งที่เรียกว่า Adverbs of frequency (กริยาวิเศษณ์บอกความถี่) เพื่อบอกความบ่อยครั้งในการเกิดเหตุการณ์หรือความถี่ในสิ่งที่เราทำ ปกติแล้วกริยาวิเศษณ์บอกความถี่จะใช้คู่กับประโยคแบบ Present simple tense (รูปกาลปัจจุบัน) เพราะประโยคแบบนี้มักจะใช้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ เป็นกิจวัตรนั่นเอง
Present Simple Tense Present Simple Tense คือ การพูดถึงเรื่องทั่วไป เรื่องที่ทำซ้ำ ๆ ในปัจจุบัน โครงสร้างประโยคของ Present Simple Tense – S + V.1 ถ้าประธานเป็นเอกพจน์บุรุษที่ 3 (He, She, It, The library, a dog, etc…) กริยาต้องเติม s/es He drives a taxi. She eats pizza. I live in Bangkok. – S + Auxiliary Verb (กริยาช่วย) + V.1 (V.1 ไม่เติม s/es) She can play tennis. We must work hard. หลักการใช้ Present…
1. อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)
1.กฎการตกของวัตถุ (The Law of Falling Bodies) ค้นพบในปี 1604 กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei) นักวิทยาศาสตร์ผู้หาญกล้าล้มแนวคิดของอริสโตเติล (Aristotel) ที่ผู้คนเชื่อถือมากว่า 2,000 ปี ว่าวัตถุที่หนักกว่าจะตกถึงพื้นได้เร็วกว่าวัตถุที่เบากว่า โดยเขาได้ทำการพิสูจน์ว่าวัตถุต่างๆ แม้จะมีน้ำหนักไม่เท่ากันแต่จะตกถึงพื้นพร้อมกัน2.แรงโน้มถ่วงของจักรวาล (Universal Gravitation) ค้นพบในปี 1666ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton) ได้สรุปว่าวัตถุทุกอย่างในจักรวาล ตั้งแต่ลูกแอปเปิลถึงดวงดาวจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน
ความอยากรู้อยากเห็นและความช่างสังเกตเป็นพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งก่อให้เกิดการศึกษา ธรรมชาติที่อยู่รอบตัวเราตั้งแต่อดีตเป็นต้นมาด้วยวิธีการต่างๆ ธรรมชาติเป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเรามากที่สุด และเป็นสิ่งที่น่าสนใจ และน่าเรียนรู้สำหรับทุกคน โดยเฉพาะในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เรียกว่า ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ (Physics) เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาธรรมชาติของสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวเรา การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ทำได้โดยการสังเกต การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นทฤษฎี หลักการหรือกฎ ความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือทำนายสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต และความรู้นี้สามารถนำไปใช้เป็นพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ใหม่เพิ่มเติมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ 1. ฟิสิกส์ คือ การศึกษากฎธรรมชาติ 2. ฟิสิกส์ คือ วิทยาศาสตร์ที่อธิบายวัตถุและพลังงาน 3. ฟิสิกส์ คือ พื้นฐานของวิทยาศาสตร์ทั้งมวล 4. ฟิสิกส์ คือ ความรู้ที่ได้จากการศึกษาและรวบรวมจากปรากฎการณ์ธรรมชาติ