การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น‎-การแจกแจงความถี่ของข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น‎-การแจกแจงความถี่ของข้อมูล    หลังจากที่กำหนดตัวแปรที่ต้องการศึกษา และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรที่ต้องการศึกษาแล้ว ข้อมูลที่เก็บได้เรียกว่า ข้อมูลดิบ (Raw Data) เช่น ต้องการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสถิติ ก็จะมีการสร้างแบบทดสอบวิชาสถิติขึ้นมา นาไปสอบกับกลุ่มนักเรียนที่ต้องการวัด แล้วตรวจคะแนน คะแนนที่ได้เรียกว่า ข้อมูลดิบ (Raw Data) หรือคะแนนดิบ ซึ่งข้อมูลดิบนี้ยังไม่มีความหมายอะไร วิธีเบื้องต้นที่จะทำให้ข้อมูลดิบนั้นมีความหมายคือการแจกแจงความถี่ ซึ่งจะสามารถทำให้ข้อมูลนั้นสามารถเอาไปใช้ได้ง่ายขึ้น และสังเกตการเปลี่ยนแปลงต่างๆได้ง่ายขึ้นด้วย

สถิติ ‎การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น‎ -การสร้างตารางแจกแจงความถี่

สถิติ ‎การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น‎ -การสร้างตารางแจกแจงความถี่

 ‎การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น‎ >การสร้างตารางแจกแจงความถี่ กรณีที่ 1 เมื่อโจทย์กำหนดข้อมูลมาให้ มีขั้นตอนในการสร้างดังนี้         1. พิจารณาจำนวนอันตรภาคชั้นตามที่ต้องการ ซึ่งโดยทั่วๆไปจะนิยมสร้างตั้งแต่ 7 ถึง 15 อันตรภาค ชั้น หรือไม่ควรต่ำกว่า 5 อันตรภาคชั้น และไม่นิยมให้บางอันตรภาคชั้นมีความถี่เป็น 0

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 สถิติ แผนภาพจุด และ แผนภาพต้นใบ

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 สถิติ แผนภาพจุด และ แผนภาพต้นใบ

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 สถิติ แผนภาพจุด และ แผนภาพต้นใบ การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ กราฟที่ใช้แสดงการแจกแจงความถี่ มีดังนี้