สรุปคณิตศาสตร์เรื่อง การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)

การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming) โปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming) เป็นเทคนิคที่รู้จักกันแพร่หลายและเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยดำเนินงาน (Operations Research) ในหลายๆด้าน นักบริหาร วิศวกรหรือนักวิทยาศาสตร์ในหลายๆ หน่วยงานได้ประยุกต์ใช้วิธีการทางโปรแกรมเชิงเส้น ในการแก้ปัญหาทางการจัดสรรปัจจัยหรือทรัพยากร (allocating resource) โดยที่ปัจจัยหรือทรัพยากรมีความหมายรวมถึงวัตถุดิบ กำลังคน เวลา สถานที่ เงินตรา หรือความรู้ความสามารถต่างๆ ปัญหาการจัดสรรปัจจัยและทรัพยากรเกิดขึ้นเมื่อเราต้องการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดทั้งขนาด ปริมาณ และขอบเขตของการใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

Details

สรุปเนื้อหา สถิติ ม.3

สรุปเนื้อหา สถิติ ม.6 สรุปสูตร สถิติ ทั้งหมด 1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2) มัธยฐาน 3) ฐานนิยม 4) ควอไทล์ เดไซล์ เปอร์เซนไทล์ 5) การวัดการกระจาย 6) ความแปรปรวน และความแปรปรวนรวม 7) ค่ามาตรฐาน  พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ 9) ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล

Details

คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องกรณฑ์ที่สอง

กรณฑ์ที่สอง เราทราบมาแล้วว่า (8)2 = 64 และ (-8)2 = 64 ดังนั้น 8 และ -8 เป็นรากที่สองของ 64 รากที่สองของ 64 เราอาจเขียนโดยใช้เครื่องหมายกรฑ์(√)

Details

คณิตศาสตร์ ม.3 กราฟเส้นตรง-คณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์ ม.3เรื่องกราฟเส้นตรง กราฟเส้นตรง สมการเส้นตรง ในบทนี้เราจะพูดถึงลักษณะต่าง ๆ ของสมการเส้นตรง ซึ่งเป็นการนำความรู้เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และเรื่องกราฟจะถูกนำมาใช้ในการหาลักษณะต่าง ๆ ของเส้นตรง ซึ่งความรู้เรื่องเส้นตรงถือเป็นเรื่องที่สำคัญมาก

Details

การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการบวกจำนวนเต็ม

การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการบวกจำนวนเต็ม ตัวอย่างที่ 1 เรือดำน้ำดำอยู่ในทะเล ลึก 10 เมตร พบวัตถุต้องสงสัยอยู่เหนือเรือดำน้ำ จึงนำเรือขึ้นสำรวจ เหนือจุดเดิม 4 เมตร จงหาว่าเรือดำน้ำลำนี้อยู่ ต่ำกว่าหรือสูงกว่าผิวน้ำทะเล เป็นระยะทางกี่เมตร แนวคิด

Details

การวัดและเรขาคณิต (รูปสองมิติ รูปสามมิติ)

การวัดและเรขาคณิต (รูปสองมิติ รูปสามมิติ) รูปและรูปทรงเรขาคณิต 1. รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากกับทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความแตกต่างระหว่างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากกับทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก คือ

Details

จำนวนและพีชคณิต (การบวก ลบ คูณ หาร ยกกำลังของจำนวนและตัวแปร การแก้สมการ อสมการ)

จำนวนและพีชคณิต (การบวก ลบ คูณ หาร ยกกำลังของจำนวนและตัวแปร การแก้สมการ อสมการ) นิพจน์ คือ กลุ่มตัวแปรหรือกลุ่มตัวเลขที่มีการคูณ หรือ หารกัน

Details

เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน

เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน  ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน การเขียนเศษส่วนให้อยู่นรูปทศนิยมและการเขียนทศนิยม ให้อยู่ในรูปเศษส่วนนั้น สามารถใช้หลักการเขียน ดังนี้ 1. การเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยม แบ่งได้เป็น 2 กรณีดงันี้ 1.1 กรณีที่เศษส่วนมีตัวส่วนเป็น 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรือ … จะได้ค่าของเศษเป็นทศนิยม และมีจำนวนตำแหน่งของ

Details

การคูณเศษส่วน ( Multiplication of Fraction )

การคูณเศษส่วน ( Multiplication of Fraction ) วิธีการ บวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน โดยปกติแล้ว ตัวที่อยู่ด้านบน คือ “ตัวเศษ” และตัวที่อยู่ล่าง เรียกว่า “ตัวส่วน” ถ้าตัวเลขเยอะไป เราสามารถใช้วิธีการตัดทอนให้มีจำนวนน้อยลงได้ จะช่วยทำให้คำนวณได้ง่ายขึ้น สูตรคณิตศาสตร์ วิธีการ บวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน มีดังนี้

Details

ทศนิยมและเศษส่วน

ทศนิยมและเศษส่วน ทศนิยม ( Decimals ) จำนวนที่อยู่ในรูปทศนิยมประกอบด้วยสองส่วน คือ ส่วนที่เป็นจำนวนเต็มและส่วนที่เป็น ทศนิยม และมีจุด (.) คั่นระหว่ำงสองส่วนนั้น

Details