ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) และ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.)

ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) และ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) เรียนเลขออนไลน์

ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) คือ ตัวหารร่วม (หรือตัวประกอบร่วม) ที่มีค่ามากที่สุด ที่นำไปหารจำนวนนับชุดใด(ตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป) ได้ลงตัว เช่น ห.ร.ม. ของ 8 และ 12 คือ 4 เพราะ 4 คือจำนวนที่มากที่สุดที่หารทั้ง 8 และ 12 ได้ลงตัว

ไปดูวิธีที่พี่เคฟเวอร์นำมาฝากกันเลยดีกว่าคร้าบบ 1.นวดบริเวณศีรษะ: พี่เคฟเวอร์แนะนำว่าให้กดเบาๆ บริเวณศีรษะเพื่อช่วยคลายกล้ามเนื้อที่แข็งตึง จะช่วยให้สมองปลอดโปร่ง ผ่อนคลาย ช่วยได้มากเลยทีเดียว 2. ทำสมาธิ: น้องๆ ลองหลับตาลงแล้วหายใจเข้าออกช้าๆ ลึกๆ โดยให้ลมหายใจเข้ายาวกว่าลมหายใจออกและมีสมาธิจดจ่ออยู่ที่ลมหายใจ การทำสมาธิจะทำให้น้องๆ ได้พักสมอง สงบมากขึ้น และไม่ฟุ้งซ่าน 3. ออกไปเดินเล่น: เวลาน้องๆ รู้สึกเหนื่อยล้าจากการอ่านหนังสือ ลองหยุดพัก อาจจะไปเดินในสวนหรือที่ๆ เราคิดว่าสบายใจ เดินเล่นสักพัก จะช่วยให้สมองปลอดโปร่งมากขึ้น แต่ก็แนะนำว่าอย่าเดินไปไกลนะคร้าบ เดินบริเวณใกล้ๆ บ้านก็พอ เวลาเดินกลับมาอ่านหนังสือต่อจะได้ไม่รู้สึกเหนื่อยเกินไป 4. ยืดเส้นยืดสาย: ให้น้องๆ เงยหน้า เอนศีรษะไปด้านหลังแล้วค้างไว้สักพัก นอกจากเพื่อคลายกล้ามเนื้อแล้ว ยังเป็นการกระตุ้นเยื้อหุ้มมัดกล้ามเนื้อที่ช่วยการนอนหลับอีกด้วย 5. หาของว่างทานระหว่างอ่านหนังสือ: การกินของว่างที่ชอบพอประมาณ เช่น ช็อกโกแลต เค้ก หรือคุกกี้ กับน้ำชาหรือนม จะช่วยทำให้อารมณ์ดีขึ้นนะคะ แต่ก็ควบคุมปริมาณกันนิดนึง เดี๋ยวกินเพลินเกินแล้วน้ำหนักขึ้นแบบไม่รู้ตัว อาจจะต้องมาเครียดทีหลังก็ได้นะคร้าบ ขอบคุณข้อมูลจาก : http://marketeer.co.th/

ภาวะสมองล้าเวลาอ่านหนังสือทำอย่างไร?

ภาวะสมองล้าคืออะไร ภาวะสมองล้า (Brain Fog Syndrome) เป็นภาวะที่สมองทำงานหนักมากเกินไปเป็นเวลานานจนส่งผลต่อสมองในส่วนของสารเคมีที่ทำหน้าที่ควบคุมระบบไฟฟ้าระหว่างเซลล์ระบบประสาททำงานไม่เต็มประสิทธิภาพเหมือนกับการมีหมอกมาบดบังการทำงานของสมองเป็นที่มาของชื่อ “Brain Fog Syndrome” ถึงแม้อาการจะไม่อันตรายแต่หากปล่อยให้เกิดขึ้นบ่อยครั้งจะทำให้เสี่ยงโรคอื่น ๆ ตามมา และสามารถส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันได้

ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น ม.4

ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น ม.4

ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น ม.4 จำนวนจริง , ระบบจำนวนจริง , ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น เวลาสอบ PAT 1 พี่หนึ่งจะรวมให้มันอยู่บทเดียวกันเลย เพราะเนื้อหามันต่อเนื่องกันนะจ๊ะ 🙂 ) น้องๆส่วนใหญ่จะไม่ชอบบทนี้โดยเฉพาะถ้าที่โรงเรียนคุณครูเน้นการพิสูจน์