มารูจักกับ พุทธศาสนานิกายเซ็น Zen Buddhism เพื่อใช้ในการเรียนรู้

มารูจักกับ พุทธศาสนานิกายเซ็น Zen Buddhism เพื่อใช้ในการเรียนรู้

มารูจักกับ พุทธศาสนานิกายเซ็น Zen Buddhism เพื่อใช้ในการเรียนรู้ ความเป็นมา พุทธศาสนานิกายเซ็นเป็นพุทธศาสนานิกายหนึ่งที่พัฒนาขึ้นในดินแดนจีนช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 โดยการผสมผสานแนวคิดของพุทธศาสนาฝ่ายมหายานจากอินเดียและปรัชญาเต๋าในจีน คำว่า “เซ็น” (Zen) นี้มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสฤตว่า “ธยานะ” (dhyana) และภาษาบาลีว่า “ฌาณ” (jhana) ที่แปลว่า “สมาธิ” เมื่อพุทธศาสนาเผยแพร่สู่ดินแดนจีน ชาวจีนออกเสียงคำนี้ว่า “ฉาน” (Ch’an) ต่อมาจึงพัฒนาเป็นพุทธศาสนานิกายฉาน และดินแดนญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลของแนวคิดนิกายฉานนี้เข้ามา แต่ที่เรียกเป็นพุทธศาสนานิกายเซ็นก็เพราะชาวญี่ปุ่นออกเสียงคำว่า “ฉาน” เป็น “เซ็น” ต่อมาพุทธศาสนานิกายนี้ได้พัฒนาออกไปเป็นหลายสำนัก แต่มีแนวคิดหลักร่วมกัน คือเป็นพุทธศาสนาที่เน้นการปฏิบัติสมาธิ

ลำดับและอนุกรม เรื่องลำดับ (Sequence)

ลำดับและอนุกรม เรื่องลำดับ (Sequence)

ลำดับและอนุกรม เรื่องลำดับ (Sequence) บทนิยาม   ลำดับ คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก ที่เรียงจาก น้อยไปมาก โดยเริ่มตั้งแต่ 1            ลำดับจำกัด  เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมน เป็น เซตของจำนวน เต็มบวก n ตั วแ ร ก คือ มีโดเมน เป็น {1,2,3,4…n}ดังนั้นลำดับจำกัด คือ    f(1), f(2), f(3),……, f(n)  ลำดับอนันต์ เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก คือ มีโดเมนเป็น{1,2,3,4…}ดังนั้น ลำดับอนันต์ คือ f(1), f(2), f(3),……., f(n),….. ดังนั้น สี่พจน์แรกของลำดับนี้ คือ – 2 , 4 , 8 , 1 6 ดังนั้น สี่พจน์แรกของลำดับนี้ คือ 3,5,3,5

สรุปเนื้อหา ความน่าจะเป็น

สรุปเนื้อหาความน่าจะเป็นคืออะไร พร้อมตัวอย่างข้อสอบ

สรุปเนื้อหา ความน่าจะเป็น คืออะไร พร้อมตัวอย่างข้อสอบ สรุปเนื้อหาที่สำคัญ – ทบทวนความรู้พื้นฐาน – การเรียงสับเปลี่ยน – เรียงของเป็นวงกลม – การจัดหมู่ – การจัดหมู่ของซ้ำ – การเรียงสับเปลี่ยนของซ้ำ – ทฤษฎีบททวินาม – สตาร์ แอนด์ บาร์ – ทบทวนความน่าจะเป็น – สมบัติของความน่าจะเป็น