ไฟฟ้าสถิตเรื่องกฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า

ไฟฟ้าสถิตเรื่องกฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ ม.ปลาย

ไฟฟ้าสถิตเรื่องกฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า กฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า การที่แผ่นพีวีซีและแผ่นเปอร์สเป็กซ์ ก่อนนำมาถูกับผ้าสักหลาดไม่แสดงอำนาจไฟฟ้า แต่หลังจากถูกับผ้าสักหลาดแล้วแสดงอำนาจไฟฟ้าออกมา คำอธิบายของปรากฏการณ์ที่ว่านี้ต้องอาศัยทฤษฏีเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม กล่าวคือ วัตถุทุกชนิดย่อมประกอบด้วยอะตอม (atom) จำนวนมาก แต่ละอะตอมประกอบด้วย นิวเคลียส เป็นแกนกลาง ภายในนิวเคลียสประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกว่า โปรตอน ( proton)และอนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเรียกว่า นิวตรอน  ( neutron )  นอกนิวเคลียส  มีอนุภาคที่มีประจุลบ  เรียกว่า  อิเล็กตรอน ( electron )  เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสด้วยพลังงานในการเคลื่อนที่ค่าหนึ่ง  อิเล็กตรอนมีมวลน้อยกว่ามวลของนิวเคลียสมาก  สามารถหลุดออกจากอะตอมหนึ่งไปสู่อีกอะตอมหนึ่งได้  ถ้าได้รับพลังงานมากพอ  ประจุและมวลของอนุภาคทั้งสามในอะตอม  ดูได้จากตาราง

สรุป เนื้อหา ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 1 และ ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 2

สรุป เนื้อหา ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 1 และ ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 2 ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 1 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คลื่น แสงเชิงคลื่นและแสงเชิงรังสี ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 2 เสียง ไฟฟ้าสถิต ไฟฟ้ากระแส การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย       การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย (Simple Harmonic Motion : SHM) คือ การเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำทางเดิมโดยผ่านตำแหน่งสมดุล และมีคาบของการเคลื่อนที่คงตัว เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุติดปลายสปริง การสั่นของสายเครื่องดนตรี การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา เป็นต้น                                               …