ชีววิทยาของเซลล์ (cell biology) ตอนที่ 3

การแบ่งเซลล์ (CELL pISION) การเจริญเติบโต และการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ 2 ขบวนการ คือ การแบ่งตัวของนิวเคลียส (KARYOKINESIS) และการแบ่งตัวของไซโทพลาซึม (CYTOPLASM) เมื่อการแบ่งตัว ของนิวเคลียสสิ้นสุด ขบวนการแบ่งตัวของไซโทพลาสซึมทันที

Details

ชีววิทยาของเซลล์ (cell biology) ตอนที่ 2

โครงสร้างและองค์ประกอบของเซลล์ (Cell Structure and Organelles) รูปที่ 1 เเสดงผนังเซลล์พืชซึ่งเป็นสารประเภทเซลลูโลส รูปที่ 2 เเสดงผนังเซลล์แบคทีเรียซึ่งเป็นสารประเภทเปปติโดไกลเคน ผนังเซลล์ (cell wall) – ป้องกันไม่ให้ของเหลวต่าง ๆ ภายในเซลล์ได้รับอันตราย – พบในเซลล์พืช และแบคทีเรีย – องค์ประกอบทางเคมีเป็น เซลลูโลส (cellulose) สำหรับพืช และ เปปติโดไกลเคน (peptidoglycan) สำหรับแบคทีเรีย – เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์แต่จะมี extracellular matrix (ECM) ประกอบด้วย สารพวก glycoproteinsเช่น collagen , proteoglycan complex และ fibronectin รวมทั้งคาร์โบไฮเดรทสายสั้นๆ ฝังอยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ รูปที่ 3 เเสดงโครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) – ลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ…

Details

ชีววิทยาของเซลล์ (cell biology) ตอนที่ 1

ประเภทของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต 1. โปรคาริโอติค เซลล์ (prokaryotic cell) – ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสห่อหุ้มสารพันธุกรรม (genetic material) – มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ได้แก่ ไรโบโซม ขนาด 70S ไม่มี Cytoskeleton – เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว อยู่เป็นเซลล์เดียว หรือ colony – DNA ไม่มีโปรตีน เป็นแบบวงปิด ประกอบด้วย Structural DNA 1 ชุด Plasmid DNA หลายชุด – ผนังเซลล์ไม่เป็น Peptidoglycan – Asexual Reproduction แบบ Binary fission – ได้แก่ แบคทีเรีย และสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (cyanobacteria) ในอาณาจักโมเนอรา (K. Monera) Prokaryoteแบ่งเป็น 2 กลุ่ม…

Details

สรุปเนื้อหาชีววิทยา ม.4 เทอม 1 “ชีววิทยาของเซลล์”

ความหมายเซลล์และประวัติการศึกษาเซลล์ ความหมายของเซลล์ เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตทำหน้าที่หรือกระบวนการต่าง ๆ ในการดำรงชีวิต ซึ่งรูปร่างของเซลล์แต่ละอย่างจะแตกต่างกันมากแต่จะมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกัน ประวัติของเซลล์ ประมาณ พ.ศ. 2133 (ค.ศ. 1590) Zaccharias Janssen และ Hans Janssen ในการประดิษฐ์เครื่องมือสำหรับส่องและขยายภาพของสิ่งที่มีขนาดเล็กให้สามารถมองเห็นได้ชัดเจนขึ้น เรียกเครื่องมือชนิดนี้ว่า “กล้องจุลทรรศน์” พ.ศ. 2216 อันตน ฟัน เลเวนฮุก (Anton Van Leeuwenhoek) นักวิทยาศาสตร์ชาวฮอลันดา ผลงานประดิษฐ์แว่นขยายธรรมดา ให้มีกำลังขยายมากขึ้น และใช้ส่องดูสิ่งต่างๆ เช่นเลืด อสุจิ น้ำจากแหล่งน้ำ พบแบคทีเรีย สาหร่าย โพรโตซัวเป็นผู้ค้นพบจุลินทรีย์เป็นคนแรก โรเบิร์ตฮุค พ.ศ.2208 ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่ประดิษฐ์ขึ้นตรวจดูชิ้นไม้คอร์คที่ฝานบางๆ พบว่าชิ้นไม้คอร์กประกอบด้วย ช่องขนาดเล็มมากมายเขาจึงตั้งชื่อแต่ละช่องว่าง เรียกว่าเซลล์ (CELL) ชิ้นไม้คอร์ก เป็นเซลล์ที่ตายแล้วเหลืออยู่แต่ผนังเซลล์(cell wall) ที่แข็งแรงประกอบไปด้วยสารพวก เซลลูโลส และ ซูเบอริน ธีออร์ดอร์ ชวานน์(Theodor Schwan)…

Details

ประวัติ ผู้ก่อตั้งรถยนต์ Honda ,.. Soichiro Honda ผู้ก่อตั้งที่เป็นตำนานยานยนต์ก่อตั้งของโลก

เปิดตำนาน Honda Motor ของชายที่ชื่อว่า โซอิจิโร่ ฮอนดะ มนุษย์ที่สร้างประวัติศาสตร์อุตสาหกรรมญี่ปุ่น ผู้ก่อตั้ง Honda บุคคลที่มีความสำคัญต่อยานยนต์ ที่กว่าจะมีวันนี้ ต้องผ่านสงครามโลกครั้งที่สอง ที่โรงงานโดนระเบิดไป

10 อันดับส่งออกของไทย

กระทรวงพาณิชย์  เผยยอดส่งออกของไทยปี 61 แตะ 2.52 แสนล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 8.09 ล้านล้านบาท  ขยายตัว 6.7%  และถือว่าสูงสุดเป็นประวัติการณ์ของมูลค่าส่งออกที่ไทยเคยทำได้   แม้จะพลาดเป้าหมายที่ตั้งไว้เติบโต 8% หลังได้รับผลกระทบจากสงครามการค้า ที่ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ยังต้องจับตาต่อไปในปีนี้ หากไปดูตลาดส่งออกสำคัญของไทย  พบว่า ตลาดหลัก 3 อันดับแรก  ยังคงเป็นจีน ขึ้นแท่นอันดับ 1 ด้วยมูลค่าส่งออก 9.6 แสนล้านบาท หรือมีส่วนแบ่งตลาด 11.9%  ตามมาด้วยตลาดสหรัฐอเมริกา ที่มีมูลค่าส่งออก 8.98 แสนล้านบาท หรือส่วนแบ่ง 11.1%  ญี่ปุ่น มูลค่ส่งออก 7.9 แสนล้านบาท หรือส่วนแบ่ง 9.9%  ส่วนเวียดนาม แซงฮ่องกง ขึ้นมาเป็นอันดับ 4 ของตลาดส่งออกของไทย ด้วยมูลค่า 4.16 แสนล้านบาท  หรือส่วนแบ่ง 5.1%  ฮ่องกง ตกไปอยู่อันดับ 5 ด้วยมูลค่าส่งออก4…

Details

กว่า 90 ปี Toyota กับประวัติที่แสนยาวนาน

oyota บริษัทรถยนต์ที่มีมูลค่ามากที่สุดในโลก กับการยอมรับจากผู้ใช้งานทั่วโลกอย่างมากมาย ใครจะรู้ได้ว่าจุดเริ่มต้นของบริษัทรถยนต์ที่ยิ่งใหญ่นี้ จะมีมาจากบริษัทผลิตกี่ทอผ้าเพียงเท่านั้น วันนี้ Autodeft จะพาทุกคนย้อนเวลาไปรู้จักกับ Toyota ให้มากขึ้นดีกว่าครับ