เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน

เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน  ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน การเขียนเศษส่วนให้อยู่นรูปทศนิยมและการเขียนทศนิยม ให้อยู่ในรูปเศษส่วนนั้น สามารถใช้หลักการเขียน ดังนี้ 1. การเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยม แบ่งได้เป็น 2 กรณีดงันี้ 1.1 กรณีที่เศษส่วนมีตัวส่วนเป็น 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรือ … จะได้ค่าของเศษเป็นทศนิยม และมีจำนวนตำแหน่งของ

Details

การคูณเศษส่วน ( Multiplication of Fraction )

การคูณเศษส่วน ( Multiplication of Fraction ) วิธีการ บวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน โดยปกติแล้ว ตัวที่อยู่ด้านบน คือ “ตัวเศษ” และตัวที่อยู่ล่าง เรียกว่า “ตัวส่วน” ถ้าตัวเลขเยอะไป เราสามารถใช้วิธีการตัดทอนให้มีจำนวนน้อยลงได้ จะช่วยทำให้คำนวณได้ง่ายขึ้น สูตรคณิตศาสตร์ วิธีการ บวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน มีดังนี้

Details

ทศนิยมและเศษส่วน

ทศนิยมและเศษส่วน ทศนิยม ( Decimals ) จำนวนที่อยู่ในรูปทศนิยมประกอบด้วยสองส่วน คือ ส่วนที่เป็นจำนวนเต็มและส่วนที่เป็น ทศนิยม และมีจุด (.) คั่นระหว่ำงสองส่วนนั้น

Details

สูตรการหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตต่างๆ

สูตรการหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตต่างๆ สูตรการหาพื้นที่ข 1. สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส = ด้าน x ด้าน หรือ 1/2 x ผลคูณของเส้นทแยงมุม

Details

สรุปตรรกศาสตร์เบื้องต้น

สรุปตรรกศาสตร์เบื้องต้น ความหมายของศัพท์ตรรกศาสตร์ คำว่า “ตรรกศาสตร์” ได้มาจากศัพท์ภาษาสันสฤตสองศัพท์คือตรฺรกและศาสตฺรตรรก หมายถึงการตรึกตรอง ความคิด ความนึกคิด และคำว่าศาสตฺร หมายถึง วิชาตำรารวมกันเข้าเป็น“ตรรกศาสตร์” หมายถึงวิชาว่าด้วยความนึกคิดอย่างเป็นระบบปราชญ์ทั่วไปจึงมีความเห็นร่วมกันว่า ตรรกศาสตร์ คือวิชาว่าด้วย การใช้กฎเกณฑ์ การใช้เหตุผล

Details

 คณิตศาสตร์ ระบบจำนวน (Number system)

วิวัฒนาการของตัวเลขมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีผู้คิดค้นพัฒนามาหลายๆรูปแบบ เพื่อใช้แทนจำนวนของการนับ เช่น ชาวกรีกใช้การนับนิ้วมือหรือก้อนหิน ในสมัยอียิปต์ใช้รูปภาพแทนตัวเลขชาวบาบิโลนใช้ลิ่มเป็นสัญลักษณ์ เป็นต้น

มารู้จักโครงสร้าง Past Simple Tense, Past Continuous Tense, Past Perfect Tense

โครงสร้าง Past Simple Tense, Past Continuous Tense, Past Perfect Tense Past Simple Tense คือ อดีตกาลธรรมดา เอาไว้เล่าเรื่องราวหรือเหตุการณ์ในอดีต โครงสร้างของประโยคก็ง่ายๆคือ ประธานตามด้วยกริยาช่อง 2 ไม่ว่าประธานตัวใดก็ตาม Subject + Verb2

Details

มารู้จักกับแสงซินโครตรอน(Synchrotron light)

มารู้จักกับแสงซินโครตรอน(Synchrotron light) แสงซินโครตรอน (Synchrotron light) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากอนุภาคมีประจุ เช่น อิเล็กตรอนหรือโปรตอน ที่มีความเร็วสูงและเกิดความเร่ง (มีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ หรือทั้งสองอย่าง) ทำให้พลังงานจลน์บางส่วนของ

Details

การคูณเศษส่วนและจํานวนคละ

การคูณเศษส่วนและจํานวนคละ จำนวนคละคือจำนวนเต็มประกอบเข้ากับเศษส่วนอย่างเช่น 3 ½ การคูณจำนวนคละอาจยุ่งยากสักหน่อย เพราะเราต้องแปลงจำนวนคละให้เป็นเศษเกินเสียก่อน ถ้าอยากรู้วิธีคูณจำนวนคละ ลองอ่านและทำตามขั้นตอน แปลงจำนวนคละจำนวนแรกให้เป็นเศษเกิน. เศษเกินคือจำนวนที่ตัวเศษมากกว่าตัวส่วน เราสามารถแปลงจำนวนคละเป็นเศษเกินด้วยขั้นตอนง่ายๆ ดังต่อไปนี้

Details

สรุปตรรกศาสตร์ ม.4 คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

สรุปตรรกศาสตร์ ม.4 สรุป ตรรกศาสตร์ ม.4 #สอบปลายภาค #TCAS66 1) ความหมายของประพจน์ 2) ตารางค่าความจริง 3) สมมูล 4) สัจนิรันดร์ 5) การอ้างเหตุผล ประพจน์ (Propositions หรือ Statements)           ประพจน์ คือ ประโยคหรือข้อความที่เป็นจริง (True) หรือเท็จ (False) อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ประโยคหรือข้อความที่มีลักษณะดังกล่าว จะอยู่ในรูปบอกเล่าหรือปฏิเสธก็ได้

Details