ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต บทนิยาม ล าดับเราาคณิต (geometric sequence)คือลา ดบั ที่มีอตัราส่วนของพจน์ที่n + 1 ต่อพจน์ที่ n เป็นค่าคงตวัทุกค่าของจา นวนนบั n และเรียกค่าคงตัวนี้ว่า อัตราส่วนร่วม (common ratio) เขียนแทนด้วย r
Detailsลำดับเรขาคณิต บทนิยาม ล าดับเราาคณิต (geometric sequence)คือลา ดบั ที่มีอตัราส่วนของพจน์ที่n + 1 ต่อพจน์ที่ n เป็นค่าคงตวัทุกค่าของจา นวนนบั n และเรียกค่าคงตัวนี้ว่า อัตราส่วนร่วม (common ratio) เขียนแทนด้วย r
Detailsวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบเปิด (open approach) ความหมายของวิธีการแบบเปิด (Open Approach) Tejima (1997) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้ปัญหาปลายเปิด (Open-ended problems) ซึ่งเป็นปัญหาชนิดที่มีคําตอบ หรือมีแนวทางในการแก้ปัญหาได้หลากหลาย การพิจารณาคําตอบ ของปัญหาปลายเปิดไม่ใช่ตัดสินเฉพาะความถูกผิดของคําตอบ
Detailsจำนวนและตัวเลข ประวัติการนับ ประวัติของตัวเลขเริ่มต้นตั้งแต่ตอนที่มนุษย์รู้จัก “การเทียบสิ่งของด้วยวิธีหนึ่งต่อหนึ่ง” เช่น เทียบสัตว์ 1 ตัว กับ นิ้วมือ 1 นิ้ว
Detailsความเท่ากันทุกประการ ความเท่ากันทุกประการของเรขาคณิต จากรูป จะเห็นว่า รูป A สามารถเคลื่อนที่ทับรูป B ได้สนิท ในทางคณิตศาสตร์เมื่อสามารถเคลื่อนที่รูปเรขาคณิตรูปหนึ่งไปทับรูปเรขาคณิตอีกรูปหนึ่งได้สนิท จะกล่าวว่ารูปเรขาคณิตสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการ ซึ่งเป็นไปตามบทนิยามของความเท่ากันทุกประการของรูปเรขาคณิตบนระนาบดังนี้
Detailsการแปลงทางเรขาคณิต – การสะท้อน
การแปลงทางเรขาคณิต – การหมุน
ความสัมพันธ์เชิงคณิตศาสตร์ ความสัมพันธ์เป็นหัวข้อทางคณิตศาสตร์ที่มีบทบาทมากในการวิเคราะห์ความเกี่ยวข้องกันระหว่างสมาชิกในเซตเดียวกับหรือสมาชิกต่างเซตกัน โดยสมาชิกที่สัมพันธ์กันจะถูกเขียนในรูปของคู่อันดับ ถ้าเราให้ S เป็นเซตของนักเรียน และ C เป็นเซตของวิชา ถ้านักเรียนคนที่ s ได้ลงเรียนวิชา c นั้นคือนักเรียน s และวิชา c สัมพันธ์กันในลักษณะของการลงเรียนวิชาเขียนแทนด้วยคู่อัน (s,c) โดยที่คู่อันดับ (s,c) เป็นสมาชิกของผลคูณคาร์ทีเซียน S x C เมื่อเรารวบรวมคู่อัน (s,c) ทั้งหมดเราจะได้เซตที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของนักเรียนกับวิชาที่เรียน นอกจากนี้หากนักเรียน s ได้ลงเรียนวิชา c1, c2 และ c4 เราสามารถแทนด้วยคู่อันดับ ( s, { c1, c2, c4 } ) ซึ่งเป็นสมาชิกของผลคูณคาร์ทีเซียน S x P(C) โดยที่ P(C) คือเพาเวอร์เซตของเซต C ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ A =…
Detailsไฟฟ้าและแม่เหล็ก การพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ ได้มีการค้นพบแรงต่าง ๆ มากมาย และได้สรุปเป็นแรงพื้นฐานในธรรมชาติ 4 แรง ซึ่งจะได้ศึกษาในบทต่อไป ดังนี้ 1) แรงโน้มถ่วง (gravitational force) 2) แรงแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic force) 3) แรงเข้ม (strong force) 4) แรงอ่อน (weak force)
Detailsโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง โลกก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ไปด้วย โดยโคจรไปในทิศทางเดียวกับการหมุนรอบตัวเอง หรือโคจรจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ในลักษณะที่แกนโลกเอียงเป็นมุม 23.5 องศา จากแนวตั้งฉากกับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นวงโคจรซึ่งใช้เวลา 365 1/4 วัน เพื่อให้ครบ 1 รอบ ปฏิทินแต่ละปีมี 365 วัน ซึ่งหมายความว่าจะมี 1/4 ของวันที่เหลือในแต่ละปี ซึ่งทุกๆปีสี่ปีจะมีวันพิเศษ คือจะมี 366 วัน กล่าวคือเดือนกุมภาพันธ์จะมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันเหมือนปกติ ตามที่เคปเลอร์ค้นพบวงโคจรของโลกไม่เป็นวงกลม ในเดือนธันวาคมมันจะอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าเดือนมิถุนายน ซึ่งมันจะอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุด โลกจะเอียงไปตามเส้นแกน ในเดือนมิถุนายน ซีกโลกเหนือจะเอียงไปทางดวงอาทิตย์ดังนั้น ซีกโลกเหนือจะเป็นฤดูร้อนและซีกโลกใต้จะเป็นฤดูหนาว
Detailsความลึกจริง ลึกปรากฏ การที่เราเห็นวัตถุในน้ำอยู่ตื้นจากเดิม เพราะอากาศมีดัชนีหักเหน้อยกว่าน้ำ ดังนั้น มุมหักเหของแสงในอากาศจึงมากกว่ามุมตกกระทบในน้ำ ภาพเเสดงความลึกจริง ลึกปรากฏ
Details