สมบัติของเลขยกกำลัง คณิตศาสตร์ออนไลน์

สมบัติของเลขยกกำลัง ให้ a,b,m และ n เป็นค่าคงที่ใดๆ เลขยกกำลัง คือ การเขียนตัวเลขที่มีการคูณซ้ำหลาย ๆครั้งในรูปแบบย่อให้มีความยาวที่สั้นลงทำให้สามารถอ่านได้เข้าใจได้ง่ายกว่าการเขียนจำนวนมากและทำให้การคำนวณทางคณิตศาสตร์ง่ายขึ้นในบางรูปแบบโดยการเขียน เลขยกกำลัง จะมีส่วนประกอบทั้งหมด 2 ส่วน คือ ฐานของเลขยกกำลัง เลขชี้กำลัง นิยาม  ถ้า a เป็นจำนวนใด ๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก  “ a ยกกำลัง n “ หรือ  “ a กำลัง n “

Details

ภาคตัดกรวยวิธีทางเรขาคณิตวิเคราะห์(analytic geometry)

ภาคตัดกรวยวิธีทางเรขาคณิตวิเคราะห์(analytic geometry) กรวยเป็นรูปเรขาคณิตที่มีวิธีการสร้างในเชิงคณิตศาสตร์ ดังนี้

Details

หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น การเขียนโปรแกรมจะต้องเข้าใจหลักเกณฑ์ของภาษาโปรแกรมและระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ ว่ามีโครงสร้างและวิธีการใช้คำสั่งอย่างไร หลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรมประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์ปัญหา การวางแผน การเขียนโปรแกรม ทดสอบโปรแกรม จัดทำคู่มือและบำรุงรักษาโปรแกรม โดยมีรายละเอียดดังนี้

Details

การใช้ Article  a/an, the ในภาษาอังกฤษ

Article  a/an, the              1)   การใช้ a และ an  a และ an   มีความหมายเหมือนกัน   a/an  ใช้นำหน้าคำนามนับได้เท่านั้น  โดยคำนามนั้นต้องเป็นเอกพจน์ที่ได้รับการกล่าวถึงเป็นครั้งแรกอย่างไม่เฉพาะเจาะจง  เช่น

Details

Fixed Mindset หรือ growth mindset คืออะไร 

Growth Mindset คือ ความเชื่อว่าศักยภาพของตนเองสามารถพัฒนาได้ หากมีความมุ่งมั่นอย่างเพียงพอ ส่วน Fixed Mindset มีความหมายตรงข้ามกันคือ ไม่เชื่อว่าศักยภาพตนเองพัฒนาได้ ซึ่งสิ่งที่เป็นปัญหาของบุคลากรในองค์กรที่มีกรอบความคิดแบบ Fixed Mindset คือ

Details

สมบัติของจำนวนจริง

ระบบจำนวนจริง หากใครยังไม่แม่นเรื่อง จำนวนตรรกยะหรืออตรรกยะ อย่าลืมไปทวนกันก่อนที่ จำนวนจริง ม.2 จำนวนจริงแทนปริมาณที่ต่อเนื่องกัน โดยทฤษฎีอาจแทนได้ด้วยทศนิยมไม่รู้จบ และมักจะเขียนในรูปเช่น 324.823211247… จุดสามจุด ระบุว่ายังมีหลักต่อ ๆ ไปอีก ไม่ว่าจะยาวเพียงใดก็ตาม

Details

สรุปเนื้อหา จำนวนจริงเรื่องส่วนประกอบของจำนวนจริง

สรุปเนื้อหาส่วนประกอบของจำนวนจริง จำนวนจริง ( Real Number ) จะประกอบไปด้วย จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ ในทางคณิตศาสตร์ จำนวนตรรกยะ (หรือเศษส่วน rational number) คืออัตราส่วนของจำนวนเต็มสองจำนวน มักเขียนอยู่ในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็ม และ b ไม่เท่ากับศูนย์

Details