การออกเสียงคำกริยาเติม ed ในภาษาอังกฤษ

คำกริยานั้นลงท้ายด้วยเสียงก้อง (voiced) เช่น b  m  w  v  d  n  l  z  r  j  g หรือ เสียงไม่ก้อง (voiceless) เช่น p  f  t  s  sh  ch  k ทีนี้เรามาดูหลักการออกเสียงคำกริยาเติม ed กัน มีอยู่ด้วยกัน 3 ข้อ คือ หลักในการอ่านคำกริยาปกติที่เติม -ed มี ดังนี้   1. ถ้ากริยาลงท้ายเสียงด้วย /t/ ถึ เมื่อเติม -ed ท้ายคำแล้ว ให้อ่านเป็น “ทิด” หรือ “เท็ด”     และถ้าคำกริยาลงท้ายด้วยเสียง /d/ ดึ เมื่อเติม -ed ท้ายคำแล้วให้ออกเสียงเป็น “ดิด” หรือ “เด็ด” เช่น  …

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory)คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory) นิยาม ถ้า m และ n เป็นจำนวนเต็ม โดยที่ n≠0 แล้ว n หาร m ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจำนวนต็ม c เพียงจำนวนเดียวเท่านั้น ซึ่ง m = nc เรียก n ว่าตัวหารหนึ่งของ m   สัญลักษณ์ n|m หมายถึง n หาร m ลงตัว   n|/m หมายถึง n หาร m ไม่ลงตัว