conjunction (คอนจังชั่น) ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย

conjunction (คอนจังชั่น) แปลว่า “การเชื่อม, คำสันธาน” แบ่งออกเป็น 4 ชนิด คือ 1.correlative conjunction (คะเรลละทีฟว์ คอนจังชั่น) =คำเชื่อมที่เกี่ยวเนื่องกัน 2.compound conjunction (คอมเพาน์ดฺ คอนจังชั่น) =คำเชื่อมที่ผสมกัน 3.coordinating conjunction (โคะออดิเนทิง คอนจังชั่น) =คำเชื่อมที่เท่ากัน 4.subordinating conjunctions (ซะบอร์ดิเนทิง คอนจังชั่น) =คำเชื่อมย่อย

Details

การเชื่อม (Conjunction)-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 

การเชื่อมประพจน์ โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากกว่าหนึ่งตัว แสดงว่าได้นำประโยคมาเชื่อมกัน มากกว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้านำประพจน์มาเชื่อมกัน ก็จะได้ประพจน์ใหม่ ซึ่งสามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ตัวเชื่อมประพจน์มีอยู่ 5 ตัว และตัวเชื่อมที่ใช้กันมากในตรรกศาสตร์คือ และ หรือ ถ้า…แล้ว ก็ต่อเมื่อ  ไม่

Details

ตัวดำเนินการทางตรรกะ – ตัวดำเนินการแบบสัมพันธ์ (Relational Operators) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย  

ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการแบบสัมพันธ์ (Relational Operators)           คือตัวดำเนินการที่ทำหน้าที่เปรียบเทียบค่าระหว่างตัวแปรสองตัว หรือนิพจน์สองนิพจน์ โดยจะคืนค่าเป็นจริงหรือเท็จ (Boolean)  

Details

ประพจน์ Proposition หรือ Statement

ประพจน์ Proposition , Statement ประพจน์ (Proposition ,Statement)  หมายถึง  ประโยชน์หรือข้อความ  ที่มีค่าความจริงเป็นจริง  หรือเป็นเท็จเพียงค่าใดค่าหนึ่งเท่านั้น  ซึ่งอาจอยู่ในประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธก็ได้

Details

การทดลองสุ่ม ( Random Experiment ) คณิตศาสตร์  ม.ปลาย

การทดลองสุ่ม ( Random Experiment ) คือ การทดลองที่เราไม่สามารถบอกล่วงหน้าได้ว่าผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากแต่ละการกระทาจะเป็นอะไร แต่สามารถบอกได้ว่ามีผลลัพธ์อะไรบ้างที่จะเกิดขึ้นได้ เช่น โยนเหรียญบาท 1 เหรียญ 1 ครั้ง หน้าที่หงายขึ้นอาจออกหัวหรืออกก้อย ทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง หน้าที่หงายขึ้นอาจเป็นแต้ม 1, 2, 3, 4, 5 หรือ 6 แต่เราไม่รู้ว่าจะเกิดแต้มอะไรแน่นอน

Details

ความน่าจะเป็น ( Probability )เรื่อง ปริภูมิตัวอย่าง ( Sample space ) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

ความน่าจะเป็น ( Probability )เรื่องปริภูมิตัวอย่าง ( Sample space ) แซมเปิลสเปซ (sample space) คือ เซตที่มีสมาชิกเป็นผลลัพธ์ที่อาจจะเป็นไปได้ทั้งหมดของการทดลองสุ่ม เขียนแทนด้วย s และจำนวนของ แซมเปิลสเปซ เขียนแทนด้วย n(S)

Details

ความน่าจะเป็น (Probability)-คณิตศาสตร์ม.ปลาย

ความน่าจะเป็น (Probability) ทฤษฎีความน่าจะเป็นเริ่มมาจากปัญหาของการเล่นเกมการพนัน โดยมีนักพนันชาวฝรั่งเศสชื่อ เซอวาลิเยร์ เดอ เมเร (Chevalier de Mire) ซึงนิยมเล่นพนันมาก เดอ เมเร มีปัญหาอยู่อย่างนึงที่ยังแก้ไม่ตกสักที คือปัญหาในการแบ่งเงินพนันกันระหว่างนักพนัน แกเลยเข้าไปขอคำแนะนำจากนักคณิตศาสตร์ที่ปราดเปรื่องที่สุดในฝรั่งเศสยุคนั้น คือปาสคาล (Pascal) และแฟร์มาต์ (Fermat) จนเป็นที่มาของทฤษฎีความน่าจะเป็นในยุคปัจจุบัน

Details

เสียงกับการได้ยิน ฟิสิกส์ ม.ปลาย

เสียงกับการได้ยิน ฟิสิกส์ ม.ปลาย  เสียงเกิดขึ้นได้อย่างไร     เสียง  เป็นคลื่นกลที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ เมื่อวัตถุเกิดการสั่นสะเทือน จะทำให้เกิดการอัดตัว และขยายตัวของคลื่นเสียง และถูกส่งผ่านตัวกลางที่เป็นสสารอยู่ในสถานะ ก๊าซ ของเหลว ของแข็ง (คลื่นเสียงจะไม่ผ่านสุญญากาศ) ไปยังหู ทำให้ได้ยินเสียงเกิดขึ้นเสียงเกิดขึ้น เมื่อวัตถุหรือแหล่งกำเนิดเสียง มีการสั่นสะเทือน ส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของอากาศที่อยู่โดยรอบกล่าวคือโมเลกุลของอากาศเหล่านั้นจะเคลื่อนที่จากตำแหน่งแหล่งกำเนิดเสียงไปชนกับโมเลกุลของอากาศที่อยู่ถัดออกไป จะเกิดการถ่ายโอนโมเมนตัมจากโมเลกุลที่มีการเคลื่อนที่ไปให้กับโมเลกุลของอากาศ ที่อยู่ในสภาวะปกติ จากนั้นโมเลกุลที่ชนกันจะแยกออกจากกันโดยโมเลกุลของอากาศที่เคลื่อนที่มาชนจะถูกดึงกลับไปยังตำแหน่งเดิมด้วยแรงปฎิกิริยา และโมเลกุลที่ได้รับการถ่ายโอนพลังงาน ก็จะเคลื่อนที่ต่อไปและไปชนกับโมเลกุลของอากาศที่อยู่ถัดไป เป็นดังนี้ไปเรื่อยๆ จนเคลื่อนที่ไปถึงหู เกิดการได้ยินขึ้นปรากฏการณ์นี้จะเกิดสลับกันไปมาได้เมื่อสื่อกลางหรือตัวกลางคืออากาศซึ่งมีคุณสมบัติยืดหยุ่น การเคลื่อนที่ของโมเลกุลอากาศจะเกิดเป็นคลื่นเสียง

Details