หลักการในการหาพจน์ทั่วไปของลำดับ-คณิตศาสตร์ออนไลน์
หลักการในการหาพจน์ทั่วไปของลำดับ จากลำดับแบบแจงพจน์ที่กำหนดให้ เราสามารถใช้หลักการในการหาได้ ดังนี้
Detailsหลักการในการหาพจน์ทั่วไปของลำดับ จากลำดับแบบแจงพจน์ที่กำหนดให้ เราสามารถใช้หลักการในการหาได้ ดังนี้
Detailsลำดับเรขาคณิต (Geometric Sequences) นิยาม ลำดับเรขาคณิต (Geometric Sequences) คือ ลำดับที่มีอัตราส่วนระหว่างสองพจน์ใด ๆ ที่อยู่ติดกันมีค่าเท่ากัน ตลอด หรือ ลำดับที่เปลี่ยนแปลงไปทีละเท่าตัว (จะกี่เท่าก็ได้ครับ) นิยาม ลำดับเรขาคณิต คือ ลำดับที่มีอัตราส่วนร่วม [Common ratio ตัวย่อ r] ระหว่างพจน์ที่ n+1 [an+1] กับพจน์ที่ n [an] มีค่าคงที่ สำหรับทุกๆ จำนวนเต็มบวก n อัตราส่วนร่วม (Common Ratio) คือ อัตราส่วนที่เกิดจากพจน์หลังหารด้วยพจน์หน้าที่อยู่ติดกัน
Detailsสรุปเนื้อหาย่อลำดับและอนุกรม ม.ปลาย อนุกรม คือ อะไร ลำดับ คือ อะไรบ้าง ลําดับและอนุกรม มีอะไรบ้าง ลำดับจำกัด ลำดับอนันต์ ลำดับเลขคณิต ลำดับเรขาคณิต ลำดับพหุนาม ลำดับหลายชั้น ลำดับเว้นระยะ ลำดับแบบมีค่าแตกต่างกันเป็นชุด ลำดับยกกำลัง ความสัมพันธ์เวียนเกิด ลําดับและอนุกรม สูตร ทั้งหมดที่ควรรู้ ลำดับและอนุกรม ความหมายของลำดับในการเขียนลำดับ จะเขียนเฉพาะสมาชิกของเรนจ์เรียงกันไป กล่าวคือ ถ้า a เป็น ลำดับจำกัด จะเขียนแทนด้วย a1, a2, a3, …, an และถ้า a เป็น ลำดับอนันต์ จะเขียนแทนด้วย a1, a2, a3, …, an, … เรียก a1 ว่า พจน์ที่ 1 ของลำดับ เรียก a2 ว่า พจน์ที่…
Detailsวางแผนติว TCAS66 และ ฝึกคิด ฟิตสมอง เทคนิคเพียบ มาพร้อมกับทริกการทำโจทย์ นำไปสอบได้ทันที พร้อมเพื่อความพร้อมทุกสนามสอบ ทั้ง TGAT/TPAT , A-Level (วิชาสามัญ) , กสพท , O-NET
DetailsA-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1(วิชาสามัญ) ข้อสอบวัดความรู้ด้านคณิตศาสตร์ เตรียมตัวสำหรับ TCAS66 #ข้อสอบ #คณิตศาสตร์ #วิชาสามัญ (ว่าที่ #alevel ) ที่น้องๆ #dek65 เพิ่งสอบกันไป แนวเป็นอย่างไรบ้าง พี่อุ๋ยคัดข้อที่น่าสนใจมาเฉลยให้ดูอย่างละเอียดกันเช่นเคย น้องๆ #dek66 ไม่ควรพลาด ต้องดู ก่อนไปสอบ A-Level ที่จะถึงนี้กันเลย ^^
Detailsเตรียมตัวทำข้อสอบ A-Level #DEK66 ที่จะไปเปลี่ยนไป ลักษณะการสอบ คณิตประยุกต์ PAT1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ (เต็ม 300 คะแนน) และ คณิต 1 วิชาสามัญ (เต็ม 100 คะแนน) ได้จะถูกเปลี่ยนเป็น คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (พื้นฐาน+เพิ่มเติม) (มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน)
Detailsตรรกศาสตร์ (Mathematical Logic ) ประพจน์ที่สมมูลกัน ประพจน์ 2 ประพจน์จะสมมูลกัน ก็ต่อเมื่อ ประพจน์ทั้งสองมีค่าความจริงเหมือนกัน ทุกกรณีของค่าความจริงของประพจน์ย่อย
Detailsหลักการใช้และโครงสร้างของ Past Simple Tense กริยาช่อง 2 เป็นองค์ประกอบสำคัญ เราจึงต้องท่องคำกริยาที่อยู่ในช่อง 2 ให้ดีว่า เติม –ed หรือ -d หรือไม่ อย่างไร ดูตัวอย่างกริยาช่อง 2
Detailsหลักการใช้ Past Simple Tense การกล่าวถึงอดีต ข้อยกเว้นในการเติม -ed หลักการเปลี่ยนคำกริยาใน Past Simple Tense was / were กริยาบอกการกระทำ คำบอกเวลาใน Past Simple Tense บทสรุปท้ายบท Past Simple Tense
Detailsการสร้างสมดุลให้กับชีวิตและการทำงานนั้นไม่เพียงแค่มีประโยชน์ต่อองค์กรเท่านั้น แต่ยังมีประโยชน์ต่อตัวบุคลากรเองด้วย ทั้งในด้านสุขภาพกายและสุขภาพใจ ซึ่งเมื่อพนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดีก็ย่อมส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพได้มากขึ้นเช่นกัน และผลดีก็จะเกิดขึ้นกับองค์กรในที่สุด เราลองมาดูเคล็ดลับในการสร้างสมดุลให้กับชีวิตและการทำงานทั้งในมุมของพนักงาน และมุมขององค์กร ที่จะร่วมสร้างแนวคิด Work Life Balance ที่ดีให้เกิดขึ้นกับองค์กรได้อย่างไร