การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมมากกว่า 1 ตัวเชื่อม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมมากกว่า 1 ตัวเชื่อม การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตวัเชื่อมหลาย ๆ ตัวเชื่อม จะตอ้งรู้ค่าความจริงของประพจน์ย่อย ๆ แลว้หาค่าความจริงของประพจน์ผสม โดยหาค่าความจริงที่อยู่ ในวงเล็บก่อน จากนั้น หาค่าความจริงตามลำดับความสำคัญของตัวเชื่อม

Details

ตัวเชื่อม และ หรือ ถ้า…แล้ว… ก็ต่อเมื่อ นิเสธ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

ตัวเชื่อม และ หรือ ถ้า…แล้ว… ก็ต่อเมื่อ นิเสธ  ตารางค่าความจริง คือ ตารางที่สร้างขึ้น   เพื่อบอกว่าค่าความจริงของแต่ละประพจน์คืออะไร โดยที่ตารางค่าความจริงจะต้องแสดงค่าความจริงของประพจน์ ในทุกกรณี ซึ่งจำนวนกรณีจะมีค่าเท่ากับ จำนวนประพจน์ย่อย2จำนวนประพจน์ย่อยๆ

ติวเลขความน่าจะเป็น(Probability)-ความน่าจะเป็น ม.5

ติวเลขความน่าจะเป็น (Probability)  ความน่าจะเป็น 1.   อธิบายความหมายของการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเท่า ๆ กันได้

Details

เด็ก ม.6 ต้องทำอะไรบ้างสำหรับเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย TCAS

เด็ก ม.6 ต้องทำอะไรบ้างสำหรับเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย TCAS สอบปลายภาค แน่นอนว่าต้องสอบปลายภาคกันอยู่แล้ว บางคนอาจจะมองว่าไม่สำคัญ ไม่อยากให้ทิ้งการเรียนในห้องเรียน แล้วทุ่มให้กับข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยอย่างเดียว เพราะคะแนนสอบในห้องเรียนมีผลกับ GPAX ที่จะใช้เป็นคะแนนเข้ามหาวิทยาลัยเหมือนกัน

Details

ประโยชน์ของการดื่ม ‘ไวน์แดง’กับสุขภาพของลำไส้ และอัลไซเมอร์

ประโยชน์ของการดื่ม ‘ไวน์แดง’กับสุขภาพของลำไส้ และอัลไซเมอร์ การศึกษาใหม่จาก King’s College London ซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร Gastroenterology ชี้ให้เห็นว่า จากการศึกษาผลกระทบของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเบียร์ ไซเดอร์ ไวน์แดง ไวน์ขาว และสุราที่มีต่อจุลินทรีย์ในลำไส้ (gut microbiome) และสุขภาพที่ตามมาในกลุ่มหญิงฝาแฝดหญิงชาวอังกฤษจำนวนกว่า 900 คนซึ่งลงทะเบียนเข้าร่วมโปรแกรมวิจัยสุขภาพ

Details

จิตนิสัยทางคณิตศาสตร์

“จิตนิสัยทางคณิตศาสตร์” (Mathematical Habits Mind) คือ ความเข้าใจคณิตศาสตร์ในรูปแบบที่คณิตศาสตร์เป็น แล้วจะสามารถสร้างจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ให้กับผู้เรียนได้อย่างไร ?

Details

การใช้งาน IF – Clauses ในรูปแบบต่างๆ

การใช้งาน IF – Clauses ในรูปแบบต่างๆ ทั้ง4 แบบ If clause ประกอบด้วย 2 ส่วนซึ่งก็คือประโยคเงื่อนไข (Conditional sentence) และประโยคหลัก (Main clause)

Details

กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตันและสภาพไร้น้ำหนัก-ฟิสิกส์ออนไลน์

กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลนิวตัน นักดาราศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ในสมัยโบราณสังเกตพบว่า ดวงจันทร์โคจรรอบโลกส่วนโลกและดาวเคราะห์ต่างๆ โคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยวงโคจรของดวงจันทร์หรือดาวเคราะห์มีลักษณะเป็นวงกลมหรือวงรี แม้แคปเลอร์ (Kepler) จะพบกฎการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ได้ แต่ก็ยังไม่มีใครสามารถอธิบายเหตุผลในการโคจรลักษณะเช่นนี้ได้ จนกระทั่งนิวตันได้นำผลการสังเกตของนักดาราศาสตร์ทั้งหลายมาสรุปว่า การที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ได้ เนื่องจากมีแรงกระทำระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์

Details

ฟิสิกส์เรื่องแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่-น้ำหนักและแรงโน้มถ่วงและสนามโน้มถ่วง ฟิสิกส์ออนไลน์

 เราทราบว่าถา้ปล่อยวตัถุมวล m ให้ตกอย่างเสรีบริเวณผิวโลกมันจะตกด้วยความเร่งคงที่ g(g คือ 9.8เมตรต่อวินาที)  โดยไม่คิดแรงตา้นทานของอากาศ เมื่อมวลที่ตกมีความเร้งจึงตอ้งเกิดแรงลพัธ์ตาม กฎขอ้สองของนิวตนั และมีค่า F=mg แรงโน้มถ่วงและสนามโน้มถ่วง แรงโน้มถ่วงและสนามโน้มถ่วง   แรงโน้มถ่วงของโลกคือแรงที่โลกดึงดูดวัตถุบนโลกไม่ให้หลุดลอยไปในอวกาศ  ซึ่งแรงโน้มถ่วงของโลกที่มีผลต่อวัตถุจะมากหรือน้อยจะขึ้นอยู่กับ ชนิดของมวลของวัตถุและระยะห่างวัตถุกับจุดศูนย์กลางของโลก      มวลของสาร(Mass) คือปริมาณเนื้อสาร ซึ่งมีค่าคงตัว มีหน่วยเป็นกิโลกรัม      น้ำหนัก (weight) คือแรงเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกที่กระทำติ่วัตถุ มีหน่วยตามระบบเอสไอ คือ นิวตัน(N)  W = mg W แทน น้ำหนัก      M แทน มวล     g แทน ค่าความเร่งเนื่องจากแรงดึดดูดของโลก(9.8 m/s2) “ทุกอนุภาคสสารนี้เอกภพดึงดูดทุกอนุภาคอื่นด้วยแรงซึ่งแปรผันตรงกับผลคูณของมวลของอนุภาคและแปรผกผันกับกำลังสองของระยะห่างระหว่างอนุภาคทั้งสองนั้น” วัตถุมีมวล m จะมีแรงโน้มถ่วงกระทำต่อวัตถุขนาดเท่ากัน F = mg  เมื่อ g = ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก = 9.81 m/s.s  ถ้า m มีหน่วยเป็นกิโลกรัม      F จะมีหน่วยเป็นนิวตัน…

Details