เรียนเคมียังไงให้เข้าใจ

เคล็ดลับเรียนเคมียังไงให้เก่ง       เคมีเป็นหนึ่งในวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมปลาย ที่มีวิธีการเรียนที่แตกต่างจากวิทยาศาสตร์แขนงอื่นๆ ทำให้บางคนที่จับทางได้ก็อาจจะชอบ ส่วนบางคนที่จับทางไม่ได้ ไปเรียนพิเศษเคมีเพิ่มเติมมากมายก็อาจจะยังจับทางไม่ได้ ส่งผลให้ทำคะแนนวิชานี้ได้ไม่ดี ไม่ชอบวิชานี้

Details

เรียนฟิสิกส์ให้ไม่เข้าใจ

วิชาฟิสิกส์ เป็นวิชาที่เน้นการคำนวณและทฤษฎีเสียส่วนใหญ่ เป็นวิชาที่ต้องต้องอาศัยหลักการจำ และและความเข้าใจในบทเนื้อหานั้นๆ

เทคนิคเรียนออนไลน์อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ

‍1. ตั้งเป้าหมายการเรียนในแต่ละวัน‍ การตั้งเป้าหมายในแต่ละวันช่วยให้คุณมีแรงบันดาลใจที่ดีในการเรียน ซึ่งคุณควรตั้งเป้าหมายแบบเฉพาะเจาะจงและวัดผลได้จริง และไม่ควรตั้งเป้าหมายต่อวันให้มากเกินไป

Details

พฤติกรรม (Behavior)

การพัฒนาตนเป็น กระบวนการของ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตัวเราเอง ให้ไปสู่ภาวะที่ ดีกว่าและ เป็นที่ต้องการ มากกว่า

การลำเลียงสารของสัตว์ในร่างการของสัตว์

ระบบลำเลียงสารของสัตว์ วิธีการรับสารและขจัดสารในร่างกายของสัตว์กระทำได้ 2 วิธี คือ

Details

อายุเม็ดเลือด

เม็ดเลือดขาวมันทำลายกับเชื้อโรค เพราะฉะนั้นเมื่อสิ่งที่มีสีขาวมาเจอกับสิ่งสกปรก มันเป็นยังไงครับ มันก็ต้องรีบตาย เพื่อไม่ให้เชื่อโรคตายตามไปด้วย ไม่ให้เชื้อโรคเปลี่ยนตัวเองมาทำลายเราด้วย มันจึงมีอายุเเค่ 3-7 วันก็ตาย

แสงเชิงฟิสิกส์ (Light)

การแทรกสอดของแสง (Interference)          การ แทรกสอดของแสง (Interference) เกิดได้ต่อเมื่อคลื่นแสง 2 ขบวนเคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการรวมตัวกันและแทรกสอดกันเกิดเป็นแถบมืดและแถบสว่างบนฉาก โดยแหล่งกำเนิดแสงจะต้องเป็นแหล่งกำเนิดอาพันธ์ (Coherent Source) คือเป็นแหล่งกำเนิดที่ให้คลื่นแสงความถี่เดียวกัน และความยาวคลื่นเท่ากัน นักวิทยาศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จในการทดลองเพื่อทดสอบทฤษฎี คือ โทมัส ยัง นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ 

Details

เรื่องคลื่นกล คลื่นผิวน้ำ และการซ้อนทับของคลื่น

1เรื่องคลื่นกล  คลื่นผิวน้ำ  และการซ้อนทับของคลื่น           คลื่น  ( Wave )   เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากการรบกวนแหล่งกำเนิด หรือตัวกลาง การสั่นสะเทือนทำให้มีการแผ่หรือถ่ายโอนพลังงานจากการสั่นสะเทือนไปยังจุดอื่นๆ โดยที่ตัวกลางนั้นไม่มีการเคลื่อนที่ไปกับคลื่น เช่น การวางเศษไม้  หรือวัสดุที่ลอยน้ำได้ลงบนผิวน้ำ แล้วโยนก้อนหิน หรือตีน้ำทำให้เกิดคลื่น จะสังเกตเห็นเศษไม้ หรือวัสดุจะกระเพื่อมขึ้นลงอยู่กับที่ แต่จะไม่เคลื่อนที่ไปพร้อมกับคลื่น แสดงให้เห็นว่า การเกิดคลื่นเป็นการถ่ายโอนพลังงานโดยผ่านโมเลกุลของน้ำ ซึ่งโมเลกุลของน้ำ ( ตัวกลาง ) จะไม่เคลื่อนที่ไปกับคลื่น

Details

การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (projectile motion)

การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์         ลักษณะการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์             การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ เป็นการเคลื่อนที่ 2 แนวพร้อมกัน คือ แนวระดับ และแนวดิ่ง ซึ่งพบว่า ความเร็วในแนวระดับ ไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง โดยจากการทดลองปล่อยวัตถุให้ตกอย่างอิสระ พร้อมกับวัตถุที่ถูกดีดออกไปในแนวระดับ พบว่า เมื่อใช้แรงมากวัตถุที่ถูกดีดจะตกไกล แต่ตกถึงพื้นพร้อมกับวัตถุที่ตกในแนวดิ่ง แสดงว่า การเคลื่อนที่ในแนวระดับไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ดังนั้นเราจึงแยกพิจารณาการเคลื่อนที่ออกเป็น 2 แนว คือ ในแนวดิ่ง และในแนวระดับ

Details

เครื่องวัดไฟฟ้า

ครื่องวัดไฟฟ้าเบื้องต้น ได้แก่ แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์ เครื่องวัดดังกล่าวได้รับการดัดแปลงจาก แกลแวนอมิเตอร์ (galvanometer) ชนิดขดลวดเคลื่อนที่ ซึ่งประกอบด้วยขดลวดอยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็กและที่ขดลวดมีเข็มชี้ติดอยู่