คณิตศาสตร์ ม.ปลายเรียนเรื่องอะไรบ้าง?

คณิตศาสตร์ ม.ปลายเรียนเรื่องอะไรบ้าง?บทเรียนคณิตศาสตร์ ม.ปลายทั้งหมด เนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 1

Details

พหุนามผลต่างกำลังสอง

พหุนามผลต่างกำลังสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามเป็นผลต่างของกำลังสอง การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองที่มีตัวแปรเดียว การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสองและมีตัวแปรเดียว  ที่แต่ละพจน์มี

Details

เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต

เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต แบบเต็มคาราเบล ความหมายของเซต เซตจำกัด และเซตอนันต์ เซตว่าง และเอกภพสัมพัทธ์ ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์

Details

ความหมายของเซต-คณิตศาสตร์เชิงวิทยาศาสตร์

ความหมายของเซต-คณิตศาสตร์เชิงวิทยาศาสตร์ เซต คืออะไร? เซต คือ กลุ่มของสิ่งต่างๆ ที่สนใจ โดยเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดจะสามารถบอกได้แน่นอน ว่าสิ่งใดอยู่กลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม มักใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ในการกล่าวถึงเซต เช่น กลุ่มของประเทศในเอเชีย

Details

X (twitter) เพิ่มมาตรการการยืนยันตัวตน

X (twitter) เพิ่มมาตรการการยืนยันตัวตน X (twitter) เพิ่มมาตรการการยืนยันตัวตน  ฟีดแบ็กจากสาธารณชนถือเป็นส่วนสำคัญมากในขั้นตอนของการพัฒนานโยบายเพื่อสร้างความมั่นใจว่านโยบายดังกล่าวนั้นได้สะท้อนถึงการให้บริการระดับโลกและผู้คนที่ใช้งาน

Details

ตรรกศาสตร์ การอ้างเหตุผลด้วยวิธีของเวนน์ –ออยเลอร์

ตรรกศาสตร์ การอ้างเหตุผลด้วยวิธีของเวนน์ –ออยเลอร์ การอ้างเหตุผล การอ้างเหตุผลคือ การอ้างว่า เมื่อมีประพจน์ p1,p2,…pn, ชุดหนึ่ง แล้วสามารถสรุปประพจน์ C ประพจน์หนึ่งได้ การอ้างเหตุผลประกอบด้วยส่วนสำคัญสองส่วนคือ เหตุหรือสิ่งที่กำหนดให้ ได้แก่ ประพจน์ p1,p2,…pn, และ ผลหรือข้อสรุป คือ ประพจน์ C โดยใช้ตัวเชื่อม ∧ เชื่อมเหตุทั้งหมด เข้าด้วยกัน และใช้ตัวเชื่อม → เชื่อมส่วนที่เป็นเหตุกับผลดังนี้ (p1 ∧ p2 ∧ … ∧ pn,) → C จะกล่าวว่า การอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล (valid) ถ้ารูปแบบของประพจน์ (p1 ∧ p2 ∧ … ∧ pn,) → C เป็นสัจนิรันดร์ และจะกล่าวว่า การอ้างเหตุผลนี้ ไม่สมเหตุสมผล (invalid) ถ้ารูปแบบของประพจน์ (p1 ∧ p2 ∧ … ∧ pn,) → C ไม่เป็นสัจนิรันดร์ ดังนั้น…

Details

ตรรกศาสตร์ เรื่องสมบัติการสมมูล

ตรรกศาสตร์ เรื่องสมบัติการสมมูล ประพจน์ที่สมมูล ประพจน์ที่สมมูลกัน คือ ประพจน์ที่มีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “≡” ค่าความจริงของประพจน์ p→q และ ∼q→∼p จากตารางค่าความจริง

Details