สมการไดโอแฟนไทน์เชิงเส้น (Linear Diophantine Equations)

1. สมการไดโอแฟนไทน์เชิงเส้น (Linear Diophantine Equations)           นิยาม สมการไดโอแฟนไทน์ (Diophantine equations) คือ สมการพหุนาม ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม และมีผลเฉลยเป็นจำนวนเต็ม

Details

แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่

แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่ รง มวล และกฎการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่

Details

ฟิสิกส์ ม.5 สมบัติเชิงกลของสาร เรื่อง ความเค้น (Stress)

ความเค้น (stress) เป็นสมบัติทางรีโอโลยี (rheological properties) ของวัสดุ ที่แสดงออกเมื่อมีแรงภายนอกมากระทำ

สมบัติเชิงกลของของแข็ง

สมบัติเชิงกลของสารเชิงกลของของแข็ง 1 สภาพยืดหยุ่นของของแข็ง สภาพยืดหยุ่น (elasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเมื่อมีแรงกระทำและสามารถคืนตัวกลับสู่สภาพเดิมเมื่อหยุดออกแรงกระทำ สภาพพลาสติก (plasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนรูปร่างไปอย่างถาวร โดยผิววัตถุไม่ฉีกขาดหรือแตกหัก!

Details

ฟิสิกส์ ม.4 แรงเสียดทาน (friction force)

แรงเสียดทาน แรงเสียดทาน (friction) เป็นแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุหนึ่งพยายามเคลื่อนที่ หรือกำลังเคลื่อนที่ไปบนผิวของอีกวัตถุ เนื่องจากมีแรงมากระทำ มีลักษณะที่สำคัญ ดังนี้ 1. เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ 2. มีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่หรือตรงข้ามทิศทางของแรงที่พยายามทำให้วัตถุเคลื่อนที่ดังรูป

Details

ฟิสิกส์ ม.4 แรง ลักษณะและประเภทของแรง แผนภาพวัตถุอิสระ(Vectors and Free-Body Diagrams)

-เวกเตอร์และแผนภาพวัตถุอิสระ (Vectors and Free-Body Diagrams) เราได้กล่าวไปแล้วว่าปริมาณเวกเตอร์ต้องระบุทั้งขนาดและทิศทาง ยกตัวอย่างเช่น เมื่อเราพูดถึงแรง

Details

ฟิสิกส์ ม.4 ปริมาณทางฟิสิกส์ สเกลาร์ เวกเตอร์

ปริมาณทางฟิสิกส์ สเกลาร์ เวกเตอร์ เวกเตอร์และสเกลาร์ การเคลื่อนที่เป็นสิ่งที่คนเราสนใจมาตั้งแต่สมัยโบราณ นิวตันเป็นคนแรกที่ศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุอย่างเป็นระบบจนสามารถอธิบาย และทำนายการเคลื่อนที่ของวัตถุทุกอย่างในจักรวาลว่ามันจะเคลื่อนที่ไปอย่าง ไรก่อน ที่จะศึกษากฎของนิวตันเรามาเริ่มศึกษาการเคลื่อนที่อย่างง่ายที่สุดเสียก่อน คือการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ซึ่งต้องเข้าใจปริมาณทางฟิสิกส์ที่ใช้ในเรื่องการเคลื่อนที่นี้ 2 คำคือ

Details