เรียนเลขออนไลน์ ฟังก์ชั่น ม.4
เรียนเลขออนไลน์ ฟังก์ชั่น ม.4 ความสัมพันธ์จาก A ไป B ให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ แล้ว r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r เป็นสับเซตของ AB เขียนได้ว่า r = {(a,b) | (a,b) ∈ A×B} กราฟของความสัมพันธ์
Detailsเรียนเลขออนไลน์ ฟังก์ชั่น ม.4 ความสัมพันธ์จาก A ไป B ให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ แล้ว r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r เป็นสับเซตของ AB เขียนได้ว่า r = {(a,b) | (a,b) ∈ A×B} กราฟของความสัมพันธ์
Detailsเรียนเลขออนไลน์ จํานวนจริง ม.4 ส่วนประกอบของจำนวนจริงสามารถสรุปได้ดังนี้ จำนวนจริงประกอบด้วย จำนวนอตรรกยะ และ จำนวนตรรกยะ ซึ่งเราจะพิจารณาในรายละเอียดได้ดังนี้
Detailsหลักตรรกวิทยาเบื้องต้น ตรรกศาสตร์ (Logic) เป็นแขนงหนึ่งของปรัชญา (Philosophy) ตรรก เป็นคำมาจากอินเดีย จึงจัดว่าเป็นศัพท์ทางตะวันออก ซึ่งอินเดียเป็นประเทศที่มีความเจริญมาก่อนประเทศทางตะวันตก
DetailsA-Level คณิต 1 : ความน่าจะเป็น มีทั้งหมด 30 ข้อ คะแนนรวม 100 คะแนน แบ่งเป็น 2 ตอน
Detailsเรียนเลขออนไลน์ ตรรกศาสตร์ เนื้อหาเรื่อง ตรรกศาสตร์ (A-Level คณิต) มีดังนี้ 1. การหาค่าความจริงของประพจน์, การสมมูลของประพจน์
Detailsโครงสร้างข้อสอบฟิสิกส์สอบ TCAS A-Level 67 Phy วิชาฟิสิกส์ โครงสร้างข้อสอบ กลศาสตร์ 1. ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์
Detailsข้อคิดคำคมในการเรียนและกำลังใจ ให้ถึงเป้าหมาย การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ไม่มีวันสิ้นสุด อยู่ที่เราทุกคนต้องการศึกษาหาความรู้มากน้อยเพียงใด การขวนขวายหาความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ได้กับตัวเราเอง วันนี้จึงมีคำคมเกี่ยวกับการเรียนการศึกษามาฝาก
Detailsจำนวนจริง(Real Number) จำนวนจริง (Real Number) ระบบจำนวนเลขเท่าที่มนุษย์คิดค้นพบในขณะนี้ประกอบด้วยเลขจำนวน 2 ระบบ คือ 1. ระบบจำนวนจริง (Real Number System) 2. ระบบจำนวนเชิงซ้อนประเภทจินตภาพ (Imaginary Number System) สรุปเป็นแผนภูมิได้ดังนี้ จำนวนตรรกยะ (Rational Number) คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็มโดยที่ b ¹ 0 จำนวนตรรกยะ จำแนกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. จำนวนเต็ม (Integer) 2. เศษส่วน (Fraction) >>> จำนวนที่เขียนในรูปของเศษส่วนได้ เช่น 1/2, 2/3, 1/3, 50/49, 1, -1, 0…
Detailsแผนภาพของเวนน์–ออยเลอร์ และการดำเนินการของเซต แผนภาพของเวนน์–ออยเลอร์ (Venn-Euler Diagram) เป็นแผนภาพที่นิยมใช้เขียนเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของเซต เพื่อให้ดูง่ายและชัดเจนมากขึ้น ปกติจะกำหนดเอกภพสัมพัทธ์ด้วยกรอบสี่เหลี่ยมมุมฉาก ภายในนั้นมีเซตซึ่งอาจเขียนเป็นวงกลม วงรี หรือรูปปิดอื่นๆ สมมติเรามีเซตต่างๆ ดังภาพต่อไปนี้ จากรูป (a): A = {1, 2} B = {3, 4, 5} จะเห็นได้ว่า A และ B ไม่มีสมาชิกร่วมกันเลย ส่วนรูป (b): C = {a, b,c,d} D = {c,d, e, f, g} จะเห็นได้ว่าทั้งสองเซตนี้มีสมาชิกบางตัวร่วมกัน สำหรับรูป (c): E = {1,2, 3} F = {1,2} เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) คือ เซตที่ใช้กำหนดขอบเขตของสิ่งต่าง…
Detailsสมาชิก คือ สิ่งที่อยู่ในเซต โดยใช้สัญลักษณ์ ∈ แทนคำว่า “เป็นสมาชิก” หรือ “อยู่ใน” เช่น ถ้า 8 เป็นสมาชิกของเซต A จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 8 ∈ A วิธีการเขียนเซตรูปแบบต่าง ๆดังนี้
Details