คณิตศาสตร์พื้นฐานหลักการนับเบื้องต้น (เลขหลัก) คณิตศาสตร์ ม.4
คณิตศาสตร์พื้นฐานหลักการนับเบื้องต้น ม.4 หลักการนับเบื้องต้น
Detailsคณิตศาสตร์พื้นฐานหลักการนับเบื้องต้น ม.4 หลักการนับเบื้องต้น
Detailsประโยชน์ของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ทางคณิตศาสตร์ มีการกำหนดเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เพื่ออธิบายหรือเปรียบเทียบความสัมพันธ์โดยใช้เครื่องหมาย “=” เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ว่าเท่ากัน เช่น 3=3, x2+3=19 เป็นต้น ความสัมพันธ์นี้เรียกว่า “สมการ” ดังที่กล่าวไปในบทความครั้งก่อน ส่วนการเปรียบเทียบสิ่งที่ไม่เท่ากัน มีการกำหนดเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เพื่ออธิบายหรือเปรียบเทียบความสัมพันธ์นั้นได้แก่ เครื่องหมาย “≠” เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ว่าไม่เท่ากัน เช่น 2≠3 , x2 + 3x +1≠ 0 เป็นต้น
Detailsแบตเตอรี่ลิเธี่ยมคืออะไร? (What is Lithium Battery?) แบตเตอรี่ลิเธี่ยม (Lithium Battery) หรือ เรียกแบบเต็มว่า แบตเตอรี่ลิเธี่ยมไออน (Lithium Ion Battery) นั้นเรียกชื่อตามการกักเก็บพลังงานในลิเธี่ยมไออน (Li ion) โดยการสร้างศักย์ไฟฟ้าให้เกิดขึ้นระหว่างขั้วบวกและขั้วลบของแบตเตอรี่และคั่นด้วยฉนวนที่เรียกว่า ตัวคั่น(Saparator)
Detailsเรื่อง อสมการ แก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ บทนิยาม อสมการ คือ ประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวน โดยมีสัญลักษณ์ < , > , ≤ , ≥ หรือ ≠ แสดงความสัมพันธ์
Detailsฟังก์ชัน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ โดเมนและเรนจ์ ฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ที่กำหนดให้ในรูปแบบแจกแจงสมาชิก สามารถทำได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้
Detailsเลขยกกำลัง รากที่ n ของจำนวนจริง เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกะ รากที่ n ของจำนวนจริง รากที่ n ของจำนวนจริง คือจำนวนจริงตัวหนึ่งยกกำลัง n แล้วเท่ากับ x เมื่อ n > 1 เราสามารถตรวจสอบรากที่ n ได้ง่ายๆ โดยนิยามดังนี้
Detailsเนื้อหาที่สอน เลข ม.4 การให้เหตุผล (1) การให้เหตุผลแบบอุปนัย (2) การให้เหตุผลแบบนิรนัย
Detailsเรื่องที่เรียนเกี่ยวตรรกศาสตร์ ประพจน์ จะกล่าวถึงความหมายและลักษณะของสิ่งที่เป็นประพจน์ และสิ่งที่ไม่เป็นประพจน์ การเชื่อมประพจน์ จะนำประพจน์สองประพจน์ขึ้นไปมาดำเนินการ ซึ่งมี 5 การดำเนินการ ได้แก่ นิเสธ และ หรือ ถ้า…แล้ว… และ ก็ต่อเมื่อ
Detailsเซตกับการแก้โจทย์ปัญหา เซตกับการแก้โจทย์ปัญหา ขั้นตอนในการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต มี 5 ขั้นตอนดังนี้ 1. การทำความเข้าใจโจทย์ปัญหาว่าสิ่งที่โจทย์กำหนดให้มีอะไรบ้าง สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบคืออะไร
Detailsคณิตศาสตร์ ม.3 เรียนอะไรบ้าง? เนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.3 หลักสูตรใหม่ของ สสวท. (ฉบับปรับปรุง ปี 2560) ซึ่งเป็นหลักสูตรที่ใช้มาจนถึงปีปัจจุบัน บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม บทที่ 2 เลขยกกำลัง บทที่ 3 จำนวนและตัวเลข บทที่ 4 สมการ อสมการและกราฟ บทที่ 5 พหุนามและการแยกตัวประกอบพหุนาม บทที่ 6 สมการกำลังสองและระบบสมการ บทที่ 7 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและตรีโกณมิติ บทที่ 8 เรขาคณิต บทที่ 9 พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร บทที่ 10 สถิติ บทที่ 11 ความน่าจะเป็น บทไหนเรียนเทอมไหน? เนื้อหาของ ม.ต้น ส่วนใหญ่เรียนตามหลักสูตรนี้ครับ มีบ้างที่บางโรงเรียนอาจจะเรียงลำดับบทเรียนต่างกัน หรือเสริมบางเรื่องเพิ่มให้กับนักเรียนอีกด้วย ส่วนใหญ่แล้วจะแบ่งเทอม ดังนี้…
Details