สรุปเรื่องระบบจำนวนจริง

ระบบจำนวนจริง จำนวนจริงคือ จากแผนผังแสดงความสัมพันธ์ของจำนวนข้างต้น จะพบว่า ระบบจำนวนจริง จะประกอบไปด้วย

Details

ตัวประกอบและการหาตัวประกอบ

ตัวประกอบและการหาตัวประกอบ ตัวประกอบของจำนวนนับใดๆ คือ จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว เช่น a เป็นตัวประกอบของ b ก็ต่อเมื่อ b หารด้วย a ลงตัว หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ a หาร b ลงตัว

Details

เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic Cell)-เคมีออนไลน์

เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic Cell) ส่วนประกอบของเซลล์อิเล็กโทรไลต์ ขั้วไฟฟ้า (Electrode) คือ แผ่นตัวนำที่จุ่มในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ แล้วต่อกับเซลล์ไฟฟ้าหรือแบตเตอรี่ โดยทั่วไปมักจะใช้ขั้วเฉื่อย เช่น ขั้ว Pt ขั้วไฟฟ้าแบ่งเป็นแอโนด และ แคโทด สารละลายอิเล็กโทรไลต์ คือสารละลายที่นำไฟฟ้าได้ เพราะมี ไอออนบวก (+) และ ไอออนลบ (-) รวมอยู่ในสารละลายเดียวกัน

Details

เซตและการดำเนินการของเซต

เซตและการดำเนินการของเซต การดำเนินการทั้งสองแบบนี้เป็นพื้นฐานของการดำเนินการเรื่องเซตเราเรียกการรวมเซตสองเซตเข้าด้วยกันว่าผลผนวก และเรียกการเลือกส่วนที่ซ้ำกันระหว่างเซตสองเซตว่าผลตัด

Details

ชนิดของเซต(Set)-คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

ชนิดของเซต(Set) 1 ความหมาย ในทางคณิตศาสตร์ เรามักใช้เซตแทนสิ่งที่อยู่ร่วมกัน ซึ่งหมายถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆที่เราสามารถกำหนด สมาชิกได้ชัดเจน (well-defined) และเรียกสิ่งที่อยู่ภายในแต่ละเซตว่า สมาชิก (Element หรือ Member)

Details

ความเลขรู้เรื่อง-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง จำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่เขียนแทนได้ด้วยเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็มที่ b ≠ 0 เศษส่วนใด ๆ a/b เมื่อ a เป็นจำนวนเต็มและ b เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ สามารถเขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมได้ โดยการนำตัวส่วนไปหารตัวเศษ ดังตัวอย่าง

Details

คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส พีทาโกรัส มีชีวิตอยู่ในช่วงปี 570–490 ปีก่อนคริสตกาล ครอบครัวของพีทาโกรัสเป็นครอบครัวที่ร่ำรวย เขาอาศัยอยู่บนเกาะซามอส (Samos) ประเทศกรีก ดังนั้น ผู้เป็นพ่อและแม่จึงส่งเขาให้ได้เล่าเรียน โดยพีทาโกรัสได้เป็นเป็นลูกศิษย์ของเทลีส (Thales) นักปราชญ์ และ 1 ใน 7 ผู้ที่ถือว่ามีปัญญาเลิศแห่งโลกยุคโบราณ หลังจากนั้นพีทาโกรัสยังได้เดินทางไปศึกษาต่อในอีกหลายประเทศ เช่น อียิปต์ บาบิโลน และอินเดีย

Details

แนวข้อสอบ A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2

แนวข้อสอบ A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 คือ ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานที่จะเข้ามาแทนที่การสอบคณิตศาสตร์วิชาสามัญ โดยเริ่มใช้สำหรับการยื่นสมัครเรียนปีการศึกษา 2566 เป็นต้นไป หรือเรียกง่าย ๆ ว่าจะเริ่มใช้สำหรับ Dek66 เป็นต้นไปนั่นเอง ซึ่งการสอบ A-Level นั้นจะเน้นการประยุกต์ความรู้เชิงวิชาการ และแน่นอนว่าจะออกไม่เกินหลักสูตรการเรียน โดย A-Leve l คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 นั้นจะให้เวลาทำข้อสอบ 1.5 ชม. คะแนนเต็ม 100 คะแนน

Details

การแปลงทางคณิตศาสตร์

การแปลงทางคณิตศาสตร์  การแปลงทางเรขาคณิต เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการย้ายวัตถุจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง โดยอาจมีการเปลี่ยนแปลงขนาด รูปร่าง หรือตำแหน่ง ให้ต่างไปจากเดิมหรือไม่ก็ได้ ตัวอย่างของการแปลงที่เราเคยพบเช่น รถยนต์ซึ่งเดิมอยู่บนทางลาดย้ายเข้าไปจอดในช่องจอดรถ การหมุนของเข็มยาวของนาฬิกา จากปลายเข็มยาวชี้ที่ตัวเลข 12 ไปชี้ที่ตัวเลข 6 หรือลูกโป่งที่มีอากาศอัดอยู่เมื่อปล่อยอากาศออกทำให้ลูกโป่งเคลื่อนที่ออกไปและตกลงเมื่ออากาศที่อยู่ในลูกโป่งดันออกมาจนไม่มีแรงดัน สิ่งเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการแปลงทั้งสิ้น  สิ่งสำคัญของการแปลงคือ จุดทุกจุดของวัตถุที่อยู่ที่เดิม (หรือขนาดเดิม) จะต้องมีการส่งไปยังวัตถุที่ตำแหน่งใหม่ (หรือขนาดใหม่) ทุกจุด จุดต่อจุด

Details