ตารางกำหนดสอบ TCAS66 ปีการศึกษา2566 และ การเตรียมตัว TCAS66

กำหนดการ TCAS66 ปีการศึกษา2566 มีทั้งหมด 4 รอบด้วยกัน ได้แก่ รอบที่ 1 Portfolio รอบที่ 2 Quota (โควต้า) รอบที่ 3 Admission รอบที่ 4 Direct Admission

Details

ภาษาอังกฤษ Adverb of Frequency (กริยาวิเศษบอกความถี่)

ภาษาอังกฤษ Adverb of Frequency (กริยาวิเศษบอกความถี่) Adverbs กริยาวิเศษณ์ คำกริยาวิเศษณ์ทำหน้าที่ขยายคำคุณศัพท์ ขยายคำกริยาหรือ

Details

 คณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่องเซต (Set)

เซต เซต  เป็นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น เซตสระในภาษาอังกฤษ  หมายถึง  กลุ่มของอังกฤษ  a, e, i, o และ u เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 10 หมายถึง  กลุ่มตัวเลข 1,2,3,4,5,6,7,8,และ9         สิ่งที่ในเชตเรียกว่า  สมาชิก  ( element หรือ members )

Details

คณิตศาสตร์เรื่อง โดเมนและเรนจ์ ( Domain and Range )

โดเมนและเรนจ์ ( Domain and Range ) “โดเมน” ของความสัมพันธ์  𝑟  แทนด้วยสัญลักษณ์  D𝑟    หมายถึง เซตกลุ่มตัวหน้า  “เฉพาะตัวที่ได้โยง” “เรนจ์”  ของความสัมพันธ์  𝑟   แทนด้วยสัญลกษณ R𝑟    หมายถึง เซตกลุ่มตัวหลัง “เฉพาะตัวที่ถูกโยง”เช่น ถาย้อนกลับไปดูความสัมพันธ์ 𝑟แอบชอบ  กับ  𝑟ชกโดน  ในหัวข้อก่อนหน้า  จะได้โดเมน และ เรนจ์ ดังนี้

Details

คณิตศาสตร์เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ ในชีวิตประจำวันเรามักได้พบสิ่งที่เกี่ยวข้องกันเสมอ เช่น สินค้ากับราคาของสินค้า คนไทยทุกคนจะต้องมีเลขบัตรประชาชนเป็นของตนเอง ตัวอย่างที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งสองสิ่งที่เกี่ยวข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง สำหรับในรายวิาคณิตศาตร์มีสิ่งที่แสดงความสัมพันธ์ดังตัวอย่างต่อไปนี้ สมบัติของคู่อันดับ (a,b) = (b,a) ก็ต่อเมื่อ a = b ถ้า (a,b) = (c,d) แล้วจะได้ a = c และ b = d ถ้า (a,b) ≠ (c,d) แล้วจะได้ a ≠ c หรือ b ≠ d หมายเหตุ : การเท่ากันของคู่อันดับ หมายถึง (x1, y1) = (x2, y2) ก็ต่อเมื่อ x1 = y1 และ x2…

Details

คณิตศาสตร์ – กราฟของฟังก์ชัน3

คณิตศาสตร์ – กราฟของฟังก์ชัน3 ค่าสัมบูรณ์คืออะไร ค่าสัมบูรณ์นั้นปรากฏให้เห็นครั้งแรกในข้อเขียนของ ฌอง โรเบิร์ต อาร์แกนด์ (Jean-Robert Argand) นักคณิตศาสตร์สมัครเล่นชาวสวิส เขาใช้คำว่า “absolute” และ “โมดูลัส (modulus) หรือโมดูล (module)” ในข้อเขียนดังกล่าว ซึ่งหมายถึงหน่วยวัด ในภาษาฝรั่งเศส  เพื่อระบุขนาดของเวกเตอร์และจำนวนเชิงซ้อนในการสร้างกราฟ ต่อมาในปี ค.ศ. 1841 Karl Weierstrass นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันได้นำเสนอสัญลักษณ์ค่าสัมบูรณ์  | x | และนำมาใช้คำนวณทางคณิตศาสตร์กันทั่วไป

Details