มารู้จักเกรกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) นักพฤกษศาสตร์ -ชีววิทยา

เกรเกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) เป็นบาทหลวงและนักพฤกษศาสตร์ชาวออสเตรียผู้ค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมอันเป็นพื้นฐานสำคัญของวิชาพันธุศาสตร์สมัยใหม่จากการทดลองผสมพันธ์ุต้นถั่วต่างพันธุ์ที่มีลักษณะ

ประโยชน์ดีๆกระชายดำ

กระชายดำมีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้หนาแน่นในแถบมาเลเซีย สุมาตรา เกาะบอร์เนียว อินโดจีน และในประเทศไทย และมีเขตการกระจายพันธุ์ทั่วไปในเอเชียเขตร้อน ในประเทศจีนตอนใต้ อินเดีย และพม่า สำหรับประเทศไทยนั้นมีการปลูกกระชายดำมากได้แก่จังหวัด พิษณุโลก เพชรบูรณ์ น่านเลย ตาก กาญจนบุรี และจังหวัดอื่นๆ ทางภาคเหนือ

มารู้จักแอนติเจน (Antigen Test Kit COVID-19) ด้วยชุดทดสอบแบบรวดเร็ว

ความแตกต่างระหว่างการตรวจแอนติเจน และแอนติบอดี ก่อนที่จะซื้อชุดตรวจมาใช้ ต้องทำความเข้าใจก่อนว่าชุดตรวจมี 2 แบบคือ

Herd Immunity (เฮิร์ด อิมมูนิตี้) คืออะไร

 “ภูมิคุ้มกันหมู่” คือภาวะที่ประชากรส่วนมากของสังคมมีภูมิคุ้มกันโรค โดยคิดเป็นสัดส่วนจำนวนคนที่สูงมากพอจนช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไม่ให้เกิดขึ้นอีกในอนาคตได้ ภูมิคุ้มกันหมู่อาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเมื่อหายจากโรค หรือเกิดจากการฉีดวัคซีน ตามหลักการของ ภูมิคุ้มกันหมู่ คือ เมื่อชุมชนแห่งใดมีภูมิคุ้มกันหมู่เกิดขึ้น สมาชิกส่วนหนึ่งที่ยังไม่มีภูมิคุ้มกัน หรือร่างกายอ่อนแอจนไม่มีภูมิคุ้มกันโรค ก็จะได้รับประโยชน์จากการปกป้องรวมหมู่นี้โดยอัตโนมัติ เพราะพาหะที่นำเชื้อโรคจากภายนอกเข้ามาจะไม่สามารถส่งต่อเชื้อนั้นให้กับคนอื่น ๆ เป็นจำนวนมากจนเกิดการระบาดขึ้นได้ ในช่วงเวลาของโรคโควิด 19 ระบาดนี้ มีข่าวการใช้วิธีการ ภูมิคุ้มกันหมู่ เพื่อหยุดยั้งการระบาด แต่ก็มีการโต้แย้งเช่นกัน โดยที่ เซอร์ แพทริก วัลแลนซ์ หัวหน้าที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์ของรัฐบาลอังกฤษ เสนอให้มีการสร้าง ภูมิคุ้มกันหมู่ ในกลุ่มประชากร เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 โดยเขาให้ความเห็นว่า การปล่อยให้ประชากรติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 60% ของประชากร เพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันในหมู่ผู้ที่หายป่วยและรอดชีวิต จะเป็นสมบัติส่วนรวมที่ช่วยปกป้องกลุ่มคนไม่มีภูมิคุ้มกันจากเชื้อร้ายได้โดยอัตโนมัติ ขอบคุณข้อมูล https://www.nsm.or.th/

โควิด Covid-19 และ ไข้หวัดธรรมดา ต่างกันอย่างไร

สถานการณ์ไวรัส Covid-19 ยังคงระบาดอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในหลายคนพอเริ่มมีอาการเจ็บป่วย มีไข้ ไอ เจ็บคอ อาจกำลังวิตกกังวลว่าตัวเราเป็น “ไข้หวัดธรรมดา” หรือติด “ไวรัส COVID-19”

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของเชื้อโรค

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของเชื้อโรค กับการแพร่กระจายและการระบาดของไวรัสโคโรนา (covid-19) ซึ่งเป็นต้นเหตุให้เกิดการติดเชื้อและลุกลามไปทั่วโลก ผู้คนเจ็บป่วยและล้มตายเป็นจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศแถบยุโรป เช่น สหรัฐอเมริกา รัสเซีย สเปน

กระบวนการทำงานของระบบทางเดินหายใจ -ชีววิทยา

อากาศเมื่อเข้าสู่ปอดจะไปอยู่ในถุงลม ซึ่งมีลักษณะกลมคล้ายลูกองุ่น ซึ่งปอดต่ละข้างจะมีถุงลมข้างละ 150 ล้านถุง แต่ะถุงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ถึง 0.1 มิลลิเมตร ถุงลมทุกอันจะมีหลอดเลือดฝอยมาห่อหุ้มไว้ การแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน ไนโตรเจน และไอน้ำ ผ่านเข้าออกถุงลมโดยผ่านเยื่อบางๆของถุงลม

วิธีตรวจโควิด-19 มีกี่แบบ ตรวจเลือด หรือ แยงจมูก ต่างกันอย่างไร

วิธีตรวจโควิด-19 มีกี่แบบ ห้องปฏิบัติการตรวจโควิด-19 ในประเทศไทย ต้องผ่านการตรวจสอบรับรองจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เสียก่อน และวิธีการตรวจโควิด มี 2 แบบ คือ

การสร้างภูมิคุ้มกันในแต่ละช่วงวัย

เริ่มสงสัยแล้วใช่หรือไม่ ว่าทำไมแพทย์และผู้เชี่ยวชาญจากทั่วโลกจึงเน้นย้ำให้เราทุกคนเห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง แล้วสงสัยอีกหรือไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับร่างกายหากภูมิคุ้มกันถดถอยลง

หลุยส์ ปาสเตอร์ ผู้พิชิตจุลินทรีย์ต้นแบบนักจุลชีววิทยาและนักเคมีผู้วางรากฐานการแพทย์สมัยใหม่

หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur) นักจุลชีววิทยาและนักเคมีผู้วางรากฐานการแพทย์สมัยใหม่ เป็นผู้ค้นพบว่าการเน่าเสียของอาหารเกิดจากจุลินทรีย์ และค้นพบวิธีการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ได้ด้วยการพาสเจอร์ไรส์ (Pasteurization) ซึ่งช่วยให้