สมบัติสารประกอบไอออนิก-เคมี ม.ปลาย

จากลักษณะการสร้างพันธะไอออนิก  ซึ่งมีแรงยึดเหนี่ยวต่อเนื่องกันเป็นผลึก  และลักษณะอะตอมของธาตุที่มีประจุเป็นไอออนบวกและไอออนลบรวมกันอยู่  ส่งผลให้สารประกอบไอออนิกมีสมบัติต่าง ๆ ดังนี้

สารประกอบไอออนิก (Ionic compound)-เคมี ม.ปลาย

พันธะไอออนิก ( Ionic bond ) หมายถึงแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสารประกอบที่เกิดขึ้นระหว่าง 2 อะตอมอะตอมที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่างกันมาก อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีน้อยจะให้อิเลคตรอนแก่อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีมาก และทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ อะตอมครบ 8 (octat rule) กลายเป็นไอออนบวก และไอออนลบตามลำดับ เกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ และเกิดเป็นโมเลกุลขึ้น เช่น การเกิดสารประกอบ NaCl

กำเนิดตารางธาตุ ทางเคมี

กำเนิดตารางธาตุ…คือธาตุอะไร? ตั้งแต่เริ่มเรียนเคมีหรืออาจจะเริ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ม.ต้น ผู้อ่านคงคุ้นเคยกับการให้ท่องตารางธาตุ มากบ้าง น้อยบ้าง แตกต่างกันไป ผู้อ่านเคยทราบไหมคะ ว่าการจัดเรียงธาตุเป็นกลุ่มๆ แบบนี้มีที่มาอย่างไร และจริงๆ แล้วเราอาจไม่เคยรู้เลยว่าธาตุในโลกนี้มีอยู่กี่ตัว เพราะมีการค้นพบกันอยู่เรื่อยๆ ตามทันบ้าง ไม่ทันบ้าง ผู้อ่านทราบไหมคะว่า “ปัจจุบันตารางธาตุถูกเติมเต็มถึงธาตุตัวที่เท่าไรแล้ว และจะสิ้นสุดเมื่อไร?”

ตารางธาตุ (โลหะ และ อโลหะ)ในตารางธาตุ

ความเป็นโลหะตามตารางธาตุ     ตามสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของมัน เรายังสามารถแบ่งธาตุออกได้เป็นสามส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่ โลหะ กึ่งโลหะ และอโลหะ ธาตุโลหะส่วนใหญ่จะสะท้อนแสง อยู่ในรูปอัลลอย และยังสามารถทำปฏิกิริยากับธาตุอโลหะ (ยกเว้น แก๊สมีตระกูล) ได้สารประกอบไอออนิกในรูปของเกลือ จากซ้ายไปขวาในตารางธาตุ โลหะยังแบ่งย่อยไปเป็นโลหะแอลคาไลที่มีความว่องไวในการทำปฏิกิริยาสูง โลหะแอลคาไลน์-เอิร์ทที่มีความว่องไวในการทำปฏิกิริยารองลงมา แลนทาไนด์และแอกทิไนด์ โลหะแทรนซิชัน และจบที่โลหะหลังแทรนซิชันซึ่งมีความเป็นโลหะน้อยที่สุดในบรรดาโลหะด้วยกัน

สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ

ตารางธาตุ คือรูปแบบการจัดหมวดหมู่ของธาตุที่ใช้ในปัจจุบัน อยู่ในรูปแบบตาราง ซึ่งมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยในปัจจุบัน มีการจัดเรียงธาตุเรียงตามลำดับตามจำนวนโปรตอนคือ เลขอะตอมจากน้อยไปมาก และใช้สมบัติของธาตุในการพิจารณา

มารู้จักแนพทาลีน (Naphthalene)คืออะไร

แนพทาลีนคืออะไร   “แนพทาลีน” หลายคนอาจไม่คุ้นเคยกับคำนี้ แต่ถ้าเรียกว่าลูกเหม็นก็คงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากลูกเหม็นเป็นสารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

ความแตกต่างกันระหว่างเจลแอลกอฮอล์กับสเปรย์แอลกอฮอล์

ในทางเคมี แอลกอฮอล์ (Alcohol) คือสารประกอบอินทรีย์ ที่มีหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) ต่อกับอะตอมคาร์บอนของหมู่แอลคิลหรือหมู่ที่แทนแอลคิล สูตรทั่วไปของแอลกอฮอล์แบบอะลิฟาติกไฮโดรคาร์บอน (สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เป็นสายตรง) คือ CnH2n+1OH

สารและการจำแนก (Matter and Substance)

– สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสาร เช่น เนื้อสาร สี กลิ่น รส การนำไฟฟ้า การละลายน้ำ จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความเป็นกรด–เบส เป็นต้น แบ่งสมบัติของสารออกเป็น 2 ประเภท คือ

รู้จักองศาบริกซ์ (° Brix) และเครื่องวัดความหวานในน้ำตาล

รู้จักองศาบริกซ์ (° Brix) และเครื่องวัดความหวาน เครื่องวัดการหักเหของแสง (Refractometer) เป็นอุปกรณ์สำหรับห้องปฏิบัติการสำหรับการวัดดัชนีหักเหของแสงและ Refractometer แบบมือถือเป็นรูปแบบดั้งเดิมที่มีด้ามจับ เครื่องวัดการหักเหของแสงกระบวนการในบรรทัด: