การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม 1 ตัวเชื่อม

ตัวเชื่อมประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมต่างๆ    โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากว่าหนึ่งตัว แสดงว่าได้นำประโยคมาเชื่อมกัน มากกว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้านำประพจน์มาเชื่อมกัน ก็จะได้ประพจน์ใหม่ ซึ่งสามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ตัวเชื่อมประพจน์ที่มีอยู่ 5 ตัว และตัวเชื่อมที่ใช้กันมากในตรรกศาสตร์ คือ และ หรือ ถ้าแล้ว ก็ต่อเมื่อ ไม่ กำหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ใดๆ เราสามารถเชื่อมประพจน์ทั้งสองเข้าด้วยกันได้ โดยอาศัยตัวเชื่อมประพจน์ดังต่อไปนี้

Details

การสร้างตารางค่าความจริง-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

การสร้างตารางค่าความจริง-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 ตารางเรียงลำดับคุมความของลักษณ์จากมากไปหาน้อย

Details

ฟิสิกส์ ม.4 เรื่อง คลื่น (wave) – เสียงและการได้ยิน ฟิสิกส์ ม.4

ธรรมชาติของเสียง เสียงและการได้ยิน ธรรมชาติของเสียง เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ เสียงเป็นพลังงานรูปหน่ึงท่ีทำให้ประสาทหูเกิดความรู้สึกได้ การเคล่ือนท่ีของเสียงจากตัวก่อกาเนิดเสียงต้องอาศัยตัวกลางในการถ่ายโอนพลังงานการสั่นของตัวก่อกำเนิดเสียงนั้น ไปยังสิ่งต่าง ๆ การเกิดคล่ืนเสียงเคล่ือนท่ีจากที่หน่ึงไปยังอีกท่ีหน่ึงได้จะต้องประกอบไปด้วย  1. มีแหล่งกำเนิดเสียง 2. มีการสั่นของแหล่งกำเนิดเสียง 3. มีตัวกลางให้คล่ืนเสียงเคล่ือนท่ีผ่าน   

Details

conjunction (คอนจังชั่น) ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย

conjunction (คอนจังชั่น) แปลว่า “การเชื่อม, คำสันธาน” แบ่งออกเป็น 4 ชนิด คือ 1.correlative conjunction (คะเรลละทีฟว์ คอนจังชั่น) =คำเชื่อมที่เกี่ยวเนื่องกัน 2.compound conjunction (คอมเพาน์ดฺ คอนจังชั่น) =คำเชื่อมที่ผสมกัน 3.coordinating conjunction (โคะออดิเนทิง คอนจังชั่น) =คำเชื่อมที่เท่ากัน 4.subordinating conjunctions (ซะบอร์ดิเนทิง คอนจังชั่น) =คำเชื่อมย่อย

Details

การเชื่อม (Conjunction)-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 

การเชื่อมประพจน์ โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากกว่าหนึ่งตัว แสดงว่าได้นำประโยคมาเชื่อมกัน มากกว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้านำประพจน์มาเชื่อมกัน ก็จะได้ประพจน์ใหม่ ซึ่งสามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ตัวเชื่อมประพจน์มีอยู่ 5 ตัว และตัวเชื่อมที่ใช้กันมากในตรรกศาสตร์คือ และ หรือ ถ้า…แล้ว ก็ต่อเมื่อ  ไม่

Details

ตัวดำเนินการทางตรรกะ – ตัวดำเนินการแบบสัมพันธ์ (Relational Operators) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย  

ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการแบบสัมพันธ์ (Relational Operators)           คือตัวดำเนินการที่ทำหน้าที่เปรียบเทียบค่าระหว่างตัวแปรสองตัว หรือนิพจน์สองนิพจน์ โดยจะคืนค่าเป็นจริงหรือเท็จ (Boolean)  

Details

ประพจน์ Proposition หรือ Statement

ประพจน์ Proposition , Statement ประพจน์ (Proposition ,Statement)  หมายถึง  ประโยชน์หรือข้อความ  ที่มีค่าความจริงเป็นจริง  หรือเป็นเท็จเพียงค่าใดค่าหนึ่งเท่านั้น  ซึ่งอาจอยู่ในประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธก็ได้

Details

การทดลองสุ่ม ( Random Experiment ) คณิตศาสตร์  ม.ปลาย

การทดลองสุ่ม ( Random Experiment ) คือ การทดลองที่เราไม่สามารถบอกล่วงหน้าได้ว่าผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากแต่ละการกระทาจะเป็นอะไร แต่สามารถบอกได้ว่ามีผลลัพธ์อะไรบ้างที่จะเกิดขึ้นได้ เช่น โยนเหรียญบาท 1 เหรียญ 1 ครั้ง หน้าที่หงายขึ้นอาจออกหัวหรืออกก้อย ทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง หน้าที่หงายขึ้นอาจเป็นแต้ม 1, 2, 3, 4, 5 หรือ 6 แต่เราไม่รู้ว่าจะเกิดแต้มอะไรแน่นอน

Details