ติวเลขความน่าจะเป็น ออนไลน์ ม.6
ติวเลขความน่าจะเป็น บทที่ 2 ความน่าจะเป็น จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเท่า ๆ กันได้
Detailsติวเลขความน่าจะเป็น บทที่ 2 ความน่าจะเป็น จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเท่า ๆ กันได้
Detailsบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เข้าใจความหมายของลำดับและหาพจน์ทั่วไปของลำดับจำกัดที่กำหนด 2. เข้าใจความหมายของลำดับและเขียนลำดับในรูปแจกแจงพจน์
Detailsประวัติของจำนวนจริง ประวัติระบบจำนวนจริง หากกล่าวถึงคณิตศาสตร์ ทุกคนคงคิดว่าเป็น “ศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องตัวเลข” ซึ่งอันที่จริงแล้วคำจำกัดความนี้เป็นเพียงคำจำกัดความดั่งเดิมของคณิตศาสตร์เท่านั้น ปัจจุบันคณิตศาสตร์ได้ถูกพัฒนาจนไม่สามารถใช้คำจำกัดความดังกล่าวได้อีกต่อไป ซึ่งหากผู้ที่สนใจอยากรู้ว่าคณิตศาสตร์มีประวัติความเป็นมาอย่างไร มีอะไรมากไปกว่าตัวเลข ก็คงบอกได้แต่เพียงว่า ต้องติดตามกันต่อไป อย่างไรก็ตาม คำจำกัดความนี้สามารถชี้ให้เห็นถึงรากฐาน และที่มาของคณิตศาสตร์ได้อย่างชัดเจน นั่นก็คือ ตัวเลข นั่นเอง
Detailsรูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน (Equivalent)
การหาค่าความจริงเมื่อไม่กำหนดค่าความจริงของประพจน์ย่อย การหาค่าความจริงของประพจน์ที่ยังไม่ก าหนดค่าความจริงมาให้ เราสามารถสร้างตารางค่าความจริงของ ประพจน์เชิงประกอบนั้นได้ โดยเราจะเรียกประพจน์ย่อยที่ยังไม่ก าหนดค่าความจริง ว่า ตัวแปรแทนประพจน์ และเรียกประพจน์เชิงประกอบที่ประกอบด้วยตัวแปรแทนประพจน์ ว่า รูปแบบของประพจน์
DetailsWilliam Gilbert นักวิทยาศาสตร์และแพทย์ชาวอังกฤษที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งไฟฟ้าและแม่เหล็ก” ผู้บุกเบิกงานวิจัยเกี่ยวกับอำนาจแม่เหล็ก แนวคิดแปลกใหม่ของเขาสร้างเป็นแรงบันดาลใจให้ Galileo
ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (อังกฤษ: Electromagnetism) เป็นสาขาหนึ่งของวิชาฟิสิกส์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา แรงแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็นปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นระหว่างอนุภาคใด ๆ ที่มีประจุไฟฟ้า แรงแม่เหล็กไฟฟ้านั้นถูกส่งผ่านโดยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic field) ที่ประกอบไปด้วยสนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก และเป็นต้นเหตุของการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นแสง แรงแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหนึ่งในสี่ปฏิสัมพันธ์พื้นฐาน (เรียกอีกแบบเป็น แรง) ในธรรมชาติ อีกสามแรงพื้นฐานได้แก่ อันตรกิริยาอย่างเข้ม, อันตรกิริยาอย่างอ่อน และแรงโน้มถ่วง[1]
โจทย์แบบฝึกหัดเรื่อง จำนวนจริง (Real number) จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น √2 , √3, √5, -√2, – √3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่า 3.14159265… 2. จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น เขียนแทนด้วย 0.5000… เขียนแทนด้วย 0.2000… • ระบบจำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะยังสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนหรือทศนิยมซ้ำได้ แต่ไม่เป็นจำนวนเต็ม ตัวอย่างเช่น 2. จำนวนเต็ม หมายถึง จำนวนที่เป็นสมาชิกของเซต…
Detailsจำนวนเชิงซ้อน (Complex Numbers)-การคูณจำนวนเชิงซ้อนด้วยจำนวนเชิงซ้อน และ สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน ม.5