ความหมายของ เซต (Set)-คณิตศาสตร์เบื้องต้น

เซต (Set) ความหมายของเซต ในทางคณิตศาสตร์ คำว่า “เซต” หมายถึง กลุ่ม หมู่ เหล่า กอง ฝูง ชุด เเละเมื่อกล่าวถึงเซตของสิ่งใดๆ  จะทราบได้ทันทีว่าในเซตนั้นมีอะไรบ้าง เราเรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า ‘สมาชิก’

Details

คณิตศาสตร์เรื่อง-ฟังก์ชันเอ็กโปเนนเชียลและลอการิทึม เบื้องต้น

ฟังก์ชันเอ็กโปเนนเชียลและลอการิทึม นักเรียนสามารถหาเซตคำตอบของสมการเอกซ์โพเนนเชียลและอสมการเอกซ์โพเนนเชียล

ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส-สมบัติของแก๊ส

สมบัติของแก๊ส สมบัติทั่วไปของแก็ส สมบัติทั่วไปของแก็ส ได้แก่ 1. แก๊สมีรูปร่างเป็นปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ บรรจุ ในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างเป็นปริมาตรตามภาชนะนั้น เช่น ถ้าบรรจุในภาชนะทรงกลมขนาด 1 ลิตร แก๊สจะมีรูปร่างเป็นทรงกลมมีปริมาตร 1 ลิตร เพราะแก็สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค (โมเลกุล หรืออะตอม) น้อยมาก จึงทำให้อนุภาคของแก๊สสามารถเคลื่อนที่หรือแพร่กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ 2. ถ้าให้แก๊สอยู่ในภาชนะที่เปลี่ยนแปลงปริมาตรได้ ปริมาตรของแก๊สจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ความดันและจำนวนโมล ดังนั้นเมื่อบอกปริมาตรของแก๊สจะต้องบอกอุณหภูมิ ความดันและจำนวนโมลด้วย เช่น แก๊สออกซิเจน 1 โมลมีปริมาตร 22.4 DM3 ที่อุณหภูมิ 0 C ความดัน 1บรรยากาศ (STP) 3. สารที่อยู่ในสถานะแก๊สมีความหนาแน่นน้อยกว่าเมื่ออยู่ในสถานะของเหลวและของแข็งมาก เช่น ไอน้ำ มีความหนาแน่น 0.0006 G/CM3แต่น้ำมีความแน่นถึง 0.9584 G/CM3 ที่100 C 4. แก๊สสามารถแพร่ได้ และแพร่ได้เร็วเพราะแก็สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยกว่าของเหลวและของแข็ง 5. แก็สต่างๆ ตั้งแต่ 2…

Details

ความดันและพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส-ฟิสิกส์ ม.ปลาย

ความดันและพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส     หลายคนอาจจะสงสัยมาโดยตลอดว่า ทำไมแก๊สถึงมีปริมาตร ทำไมแก๊สถึงอยู่ในภาชนะได้ทั่วทั้งภาชนะ ทำไมอนุภาคแก๊สไม่ตกลงไปรวมกันอยู่ที่ก้นของภาชนะ ในเมื่อแก๊สก็มีมวลเช่นเดียวกับของแข็ง ของเหลว ก็น่าจะถูกแรงโน้มถ่วงของโลกดึงลงเหมือนกัน

Details

ทฤษฏีจลน์ของแก๊ส ( Kinetic Theory of Gases) ฟิสิกส์ ม.ปลาย

ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ( Kinetic Theory of Gases) เป็นทฤษฎีที่พยายามอธิบายสมบัติต่างๆ ของแก๊สโดยศึกษาจากทิศทางเคลื่อนที่ของโมเลกุลแก๊สและลักษณะของโมเลกุลแก๊สในช่วงแรก การเริ่มศึกษาทฤษฎีนี้โดยเจมส์ คลาร์ก แมกซ์เวลล์ นับเป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาอุณหพลศาสตร์ในมุมมองจุลภาค

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Trigonometric functions) คืออะไร ? คณิตศาสตร์

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ คืออะไร ? ตรีโกณมิติ (Trigonometry) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Circular Function คือ ฟังก์ชันของมุม ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษารูปสามเหลี่ยมและ

Details

การค้นพบไฟฟ้า และ ประวัติความเป็นมาของไฟฟ้า-ฟิสิกส์ ม.ปลาย

ไฟฟ้าขนาดเล็ก “การค้นพบไฟฟ้าครั้งแรกของโลก” นักวิทยาศาสตร์เห็นตรงกันว่า ทาลีส (Thales) นักปรัชญาของชาวกรีกโบราณ เป็นผู้ค้นพบไฟฟ้าคนแรกของโลก เมื่อประมาณ 600 ปีก่อนคริสตกาล ทาลีสค้นพบว่า เมื่อได้นำแท่งอำพันถูกับผ้าขนสัตว์ และนำไปวางใกล้เศษไม้ หรือวัตถุชิ้นเล็กๆ เศษไม้เหล่านั้นจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งอำพัน พลังงานที่ดึงดูดวัตถุนั้นของแท่งอำพัน ในปัจจุบันนี้เรารู้จักกันในชื่อว่า ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity)

Details