ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Trigonometric functions) คืออะไร ? คณิตศาสตร์

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ คืออะไร ? ตรีโกณมิติ (Trigonometry) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Circular Function คือ ฟังก์ชันของมุม ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษารูปสามเหลี่ยมและ

Details

การค้นพบไฟฟ้า และ ประวัติความเป็นมาของไฟฟ้า-ฟิสิกส์ ม.ปลาย

ไฟฟ้าขนาดเล็ก “การค้นพบไฟฟ้าครั้งแรกของโลก” นักวิทยาศาสตร์เห็นตรงกันว่า ทาลีส (Thales) นักปรัชญาของชาวกรีกโบราณ เป็นผู้ค้นพบไฟฟ้าคนแรกของโลก เมื่อประมาณ 600 ปีก่อนคริสตกาล ทาลีสค้นพบว่า เมื่อได้นำแท่งอำพันถูกับผ้าขนสัตว์ และนำไปวางใกล้เศษไม้ หรือวัตถุชิ้นเล็กๆ เศษไม้เหล่านั้นจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งอำพัน พลังงานที่ดึงดูดวัตถุนั้นของแท่งอำพัน ในปัจจุบันนี้เรารู้จักกันในชื่อว่า ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity)

Details

สนามไฟฟ้า (electric field)-ไฟฟ้าสถิต‎ ฟิสิกส์ม.ปลาย

สนามไฟฟ้า (electric field) สนามไฟฟ้า หมายถึง “บริเวณโดยรอบประจุไฟฟ้า ซึ่งประจุไฟฟ้า สามารถส่งอำนาจไปถึง” หรือ “บริเวณที่เมื่อนำประจุไฟฟ้าทดสอบเข้าไปวางแล้วจะเกิดแรงกระทำบนประจุไฟฟ้า ทดสอบนั้น” ตามจุดต่างๆ ในบริเวณสนามไฟฟ้า ย่อมมีความเข้มของ สนามไฟฟ้าต่างกัน จุดที่อยู่ใกล้ประจุไฟฟ้าต้นกำเนิดสนาม จะมีความเข้มของสนามไฟฟ้าสูงกว่าจุดที่อยู่ ห่างไกลออกไป หน่วยของสนามไฟฟ้าคือนิวตันต่อคูลอมบ์ หรือโวลต์ต่อเมตร 

Details

รูปแบบง่ายที่สุดของกำหนดการเชิงเส้น-กำหนดการเชิงเส้น (linear programming) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

รูปแบบง่ายที่สุดของกำหนดการเชิงเส้น                ลักษณะของรูปแบบง่ายที่สุดของกำหนดการเชิงเส้น

Details

กำหนดการเชิงเส้น (Linear programming)-กำหนดการเชิงเส้นโดยวิธีการใช้กราฟ

กำหนดการเชิงเส้นโดยวิธีการใช้กราฟ            ในการแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นนั้นต้องเริ่มต้นด้วยการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ  

Details

กำหนดการเชิงเส้น (linear programming)-แบบจำลองทางคณิตศาสตร์

แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical model) ความคิดพื้นฐาน และเทคนิคของกำหนดการเชิงเส้นช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์หรือประสิทธิภาพสูงสุดแก่ผู้ตัดสินใจนั้น แสดงว่า การแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นจึงเกี่ยวกับการหาค่าต่ำสุด หรือสูงสุดภายใต้เงื่อนไขข้อบังคับ โดยการนำเอาเงื่อนไขข้อบังคับมาสร้างในรูปแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น

Details

สรุปสูตร จำนวนเชิงซ้อน(COMPLEX NEMBER )

สรุปสูตร จำนวนเชิงซ้อนสรุปสูตรจำนวนเชิงซ้อน ( COMPLEX NEMBER ) ในหัวข้อ จำนวนเชิงซ้อน นี้จะอธิบายถึงพื้นฐานของจำนวนเชิงซ้อน การประยุกต์ใช้จำนวนเชิงซ้อน และกระบวนการต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับ จำนวนเชิงซ้อน ซึ่งหัวใจของบทนี้ คือ การเข้าใจหน่วยจินตภาพ ( Imaginary Unit ) ซึ่งในเรื่องจำนวนเชิงซ้อนนี้ มีการนำไปประยุกต์ใช้กับหัวข้อต่าง ๆ เช่น ตรีโกณมิติ จำนวนจริง และมีการใช้งานในอีกหลาย ๆ ส่วนที่ยังไม่ได้มีในหลักสูตรปัจจุบัน

Details

สรุปหลักการใช้ Past simple tense ให้เข้าใจง่าย

  Past Simple Tense คือ ประโยคอดีตกาล เป็นโครงสร้างประโยคที่เราใช้เล่าเหตุการณ์ต่าง ๆ ในอดีต ที่สิ้นสุดไปแล้ว หรือกิจกรรมที่เราเคยทำเป็นนิสัย แต่ว่าเลิกทำไปแล้ว

Details