Verbs คำกริยาคู่กับคำนาม Nouns ที่ใช้กันบ่อยๆ

Verbs คำกริยาคู่กับคำนาม Nouns ที่ใช้กันบ่อยๆ ในภาษาอังกฤษ มักจะนำคำนาม (Nouns) คำกริยา (Verbs) คำคุณศัพท์ (Adjective) คำบุพบท (Prepositions) มาใช้ร่วมกัน ซึ่งเราเรียกกลุ่มคำที่ใช้ร่วมกันนี้ว่า Collocation  คำปรากฏร่วม เป็นการเชื่อมคำหรือกลุ่มคำ วลี (Phrase) รวมทั้งสำนวน (Idiom) ที่จำเป็นต้องใช้ร่วมกันในประโยค  ซึ่งคำที่ใช้ร่วมกันนี้ ได้กำหนดไว้แน่ชัดว่าจะใช้คู่กับคำอะไร จะใช้คำอื่นแทนหรือสลับตำแหน่งกันไม่ได้ ถึงแม้ว่าคำที่จะใช้แทนนั้น จะมีความหมายเหมือนกัน หรือใกล้เคียงกันก็ตาม

Details

เก่งไม่ยาก รวมวิธีเรียนเคมีให้เข้าใจ

หลายคนที่เรียนสายวิทย์-คณิตฯ มาก็พร้อมใจกันบอกว่ายาก และไม่ชอบ แต่ก็มีอีกหนึ่งวิชาค่ะ ที่ถือว่าปราบเซียนเด็กๆ วิทย์-คณิตฯ เหมือนกัน นั่นก็คือ วิชาเคมี ที่มีทั้งส่วนผสมของวิชาคำนวณและความเข้าใจ วันนี้พี่อีฟก็เลยขอเอาเทคนิคดีๆ ที่เคยช่วยพัฒนาวิชาเคมี

มาดู TCAS -ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ เคมี ม.ปลาย

มาดู TCAS -ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ เคมี ม.ปลาย มาดูบทสรุปเนื้อหาสำคัญเข้าใจง่าย เฉลยข้อสอบเก่า ตะลุยโจทย์ GAT, PAT1, PAT2, O-NET และ 9 วิชาสามัญ

สรุป ลำดับและอนุกรม ม.5

ลำดับและอนุกรม ม.5 ลำดับ เป็นจำนวนหรือพจน์ที่เขียนเรียงกันภายใต้กฏเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นลำดับทั่ว ๆ ไป โดยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่

Details

พื้นฐานคณิตศาสตร์ เรื่องเซต ( Set ) ม.4

2.1 เซต เซต  เป็นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น

Details

ลำดับและอนุกรมอนันต์ ม.6

หมายถึง จำนวนหรือพจน์ที่เขียนเรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งลำดับทั่วๆ ไปแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ– ลำดับจำกัด คือลำดับซึ่งมีจำนวนพจน์จำกัด เช่น 1,2,3,4,…,100– ลำดับอนันต์ คือลำดับซึ่งมีจำนวนพจน์ไม่จำกัด เช่น 1,2,3,4,…

พีชคณิตของฟังก์ชัน และกราฟ คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

การวิเคราะห์พฤติกรรมต่าง ๆในธรรมชาตินั้น หากต้องการศึกษาระบบในธรรมชาติโดยใช้วิธีการเชิงประจักษ์ที่ซึ่งอาศัยการสังเกตและทำการทดลอง ระเบียบวิธีขั้น

กราฟและสมการของภาคตัดกรวย

กราฟและสมการของภาคตัดกรวย กราฟและสมการของภาคตัดกรวยแต่ละชนิด โดยอาศัยหลักการเลื่อนกราฟ ได้ดังตารางต่อไปนี้ ภาคตัดกรวย กราฟ สมการรูปแบบมาตรฐานและข้อเท็จจริงที่สำคัญ วงกลม สมการ จุดศูนย์กลาง (h, k) รัศมียาว r หน่วย วงรี สมการ แกนเอกอยู่ในแนวนอน จุดศูนย์กลาง (h, k) จุดยอด (h-a, k), (h+a, k) โฟกัส (h-c, k), (h+c, k); c2= a2 – b2 แกนเอกยาว 2a หน่วย แกนโทยาว 2b หน่วย สมการ แกนเอกอยู่ในแนวตั้ง จุดศูนย์กลาง (h, k) จุดยอด (h, k-a), (h, k+a) โฟกัส (h, k-c), (h, k+c); c2= a2 – b2 แกนเอกยาว…

Details