รู้อย่างนี้จะไม่เรียนภาษาอังกฤษได้อย่าง ชวนมาดูข้อดีของการฝึกภาษาอังกฤษ

ข้อดี ที่พบได้ในเฉพาะผู้เรียนภาษาอังกฤษ 1. ภาษาอังกฤษช่วยเสริมสร้างความมั่นใจ เพราะภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้กันทั่วโลก ใครก็ตามที่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว ดูเหมือนว่าพวกเขาเหล่านี้จะมีความมั่นใจในตัวเอง

Details

เทคนิคการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ด้วยตัวเอง

เทคนิคการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ด้วยตัวเอง สิ่งสำคัญคือต้องรู้ว่ากระบวนการเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร เพราะการเรียนไม่ใช่เพียงแค่นั่งอ่านหนังสือตั้งแต่ต้นจนจบ แต่ผู้เรียนต้องมีระเบียบวินัย และผ่านกระบวนการเรียนรู้เทคนิคต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ

Details

🎉🎉🎉Update!!! คอร์สใหม่ ล่าสุด ! ! ! MQ04 คอร์สตะลุยโจทย์คณิต 👉แนวหลักสูตรใหม่👈

📚คอร์สที่หลายๆคนรอคอย ตะลุยโจทย์ตรงตามแนวหลักสูตรใหม่ รวมถึงโจทย์แนว สสวท. มาฝึกทำโจทย์กับพี่อุ๋ยเตรียมรับมือข้อสอบ อัพเดทล่าสุดไม่ว่าจะเตรียมสอบ PAT1 หรือ คณิตวิชาสามัญ ก็พร้อม!!! 📍คอร์สนี้ สอนอะไร? 📚          👍พี่อุ๋ย จะพาน้องๆไปตะลุยโจทย์ ที่ตรงตามแนว หลักสูตรใหม่ และ แนวโจทย์ของ สสวท  ที่เน้น การประยุกต์ และ บูรณาการความรู้ให้เข้ากับสถานการณ์ และ การนำไปใช้           👍อัพเดท เนื้อหา ที่ต้องใช้ในการรับมือกับโจทย์แนวใหม่ ที่ยังมี ตัวอย่างอยู่น้อย  ให้น้องๆ ได้นำไปใช้ได้จริงในห้องสอบ  ……………………………………………………………………… 📍คอร์สนี้ เหมาะกับใคร? 👫       🙋🏻‍น้องๆ ที่เตรียมตัวสอบ PAT 1 และ คณิต วิชาสามัญ…

Details

การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย  SHM(Simple Harmonic Motion)-ฟิสิกส์

การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย (Simple Harmonic Motion) การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย                                 การเคลื่อนที่ใดๆ ซึ่งเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำทางเดิม โดยผ่านตำแหน่งสมดุลและคาบของการเคลื่อนที่คงตัว ดังแสดงด้วยกราฟของการเคลื่อนที่ในแนวแกน x เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบพีริออดิก(periodic motion)  การเคลื่อนแบบพีริออดิกชนิดหนึ่งที่กราฟของการกระจัดกับเวลาอยู่ในรูปของฟังก์ชันไซน์หรือโคไซน์ความถี่คงที่มีค่าที่แน่นอนค่าเดียว เรียกว่า  การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย  (simple harmonic motion) นั่นคือ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเป็นการเคลื่อนที่แบบพีริออดิกอย่างหนึ่ง อาจจะเรียกย่อๆ ว่า  การเคลื่อนที่แบบ  SHM  การกระจัดทาง  x  ในรูปฟังก์ชันของเวลา  t  ของ SHM

Details

4 ธาตุใหม่ในตารางธาตุ

ธาตุชนิดใหม่ทั้ง 4 ชนิดที่ถูกเพิ่มเข้ามานั้นทางสหภาพเคมีฯได้ทำการเพิ่มธาตุเหล่านี้เข้าไปอยู่ในตารางลำดับที่ 113, 115, 117 และ 118 ธาตุทั้ง 4 ตามที่ได้กล่าวไปนั้นไม่สามารถพบเจอได้ตามธรรมชาติแต่อย่างใด ซึ่งมันจะเป็นธาตุที่ได้รับการสังเคาระห์ดังนั้นในเวลานี้ก็เท่ากับว่าเรามีธาตุชนิดใหม่เพิ่มขึ้นมาอีก 4 ชนิดให้ต้องทำการจดจำกันโดยเฉพาะน้อง ๆ นักเรียนนักศึกษาก็คงจะต้องมีการเพิ่มความจดจำกันใหม่อีกนิด

Details

ฮิกส์โบซอน (Higgs boson)-ฟิสิกส์

อนุภาคฮิกส์ (Higgs particle) หรือ ฮิกส์โบซอน (Higgs boson) เป็นอนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่งตามแบบจำลองมาตรฐานในการศึกษาด้านฟิสิกส์อนุภาค

เซลล์ประสาท(nerve cells)-ชีววิทยา

เซลล์ประสาท  เซลล์ประสาท                                เป็นเซลล์ที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างจากเซลล์อื่นๆ ในร่างกาย คือ มีรูปร่าง คล้ายดาว  (stellate shape) ที่ประกอบด้วย cell body และแขนง (cellular process) ได้แก่ axon และ dendrite

Details

จำนวนจริง (Real number)-พีชคณิตระดับมัธยม

จำนวนจริง ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้แทนปริมาณต่างที่มีอยู่ในธรรมชาติ ในยุคเริ่มแรกเรารู้จักจำนวนที่มีลักษณะเต็มหน่วยที่เป็นปริมาณเชิงประจักษ์ในธรรมชาติ ชุดจำนวนเหล่านี้ถูกนำมารวมกันเป็นเซตเรียกว่าเซตจำนวนนับ (Natural numbers) ต่อมามีการกำหนดเลขศูนย์ และจำนวนตรงกันข้ามกับจำนวนนับ จึงเรียกจำนวนสามกลุ่มนี้ใหม่ว่า จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มศูนย์ และจำนวนเต็มลบ เกิดเป็นเซตจำนวนเต็ม ต่อมามีการศึกษาปริมาณเชิงสัดส่วน (Ratio) ที่เกิดจากการแบ่งในลักษณะการหารกันระหว่างจำนวนเต็ม รวมถึงการการหาผลหารที่อยู่รูปทศนิยมรู้จบ และทศนิยมไม่รู้จบชนิดทศนิยมซ้ำ เมื่อผนวกกับระบบจำนวนที่มีก่อนหน้าเราเรียกเซตจำนวนกลุ่มนี้ว่าเซตจำนวนตรรกยะ (Rational numbers) สำหรับจำนวนที่อยู่นอกเหนือจากจำนวนตรรกยะเรียกว่าเซตจำนวนอตรรกยะ ผลผนวกสุดท้ายทำให้เราได้เซตจำนวนที่เรียกว่าเซตจำนวนจริง ระบบจำนวนจริงนี้สามารถอธิบายเป็นภาพด้วยเส้นจำนวนแสดงการจัดเรียงอันดับ และการวัดระยะระหว่างตำแหน่งสองตำแหน่งเมื่อเราแทนตำแหน่งด้วยจุดบนเส้นจำนวน

Details

การจำแนกอาณาจักรสิ่งมีชีวิต-ชีววิทยา

 ปัจจุบันมีสิ่งมีชีวิตที่ได้รับการจำแนกชนิดประมาณ 2 ล้านชนิด โดยจำแนกออกเป็นอาณาจักร (Kingdom) ต่าง ๆกันถึง 5 อาณาจักร ซึ่งเป็นระบบที่นิยมกันมากที่สุดในปัจจุบัน อาณาจักรสิ่งมีชีวิต แบ่งออกเป็น 5 อาณาจักร ได้แก่ อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) อาณาจักรโพรทิสตา (Kingdom Protista) อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi) อาณาจักรพืช (Plant Kingdom) และอาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)

Details