ปรากฏการณ์คลื่น- บีตส์ (Beat) ฟิสิกส์ ม.ปลาย

บีตส์ (Beat) เกิดขึ้นเมื่อเสียงจากแหล่งกำเนิดสองแหล่งที่ความถี่ต่างกันเล็กน้อย เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางเดียวกันในเวลาและทิศเดียวกัน ก็จะรวมกัน ตามหลักการซ้อนทับของคลื่นทำให้คลื่นรวมที่ได้เคลื่อนที่ผ่านผู้ฟังซึ่งอยู่กับที่เป็นเสียงดังค่อย ดังค่อยสลับกันไปเป็นจังหวะที่คงตัว เรียกว่า บีตส์ของเสียง หูของคนเราสามารถแยกเสียงบีตส์ เมื่อความถี่บีตส์มีค่าไม่เกิน 7 เฮิรตซ์

ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกรางวัลโนเบลของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ฟิสิกส์ ม.ปลาย

 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)‎ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก (Photoelectric Effect) เป็นทฤษฎีที่ใช้อธิบายคุณสมบัติของแสงในรูปแบบของอนุภาค ที่เรียกว่า “โฟตอน” (Photon) จากเดิม (Classical Physics) ที่อธิบายคุณสมบัติของแสงในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

Details

วิธี ที่จะทำให้เลิกเป็นคนคิดมาก ฟุ้งซ่าน ขี้กังวล

วิธีหลัก ๆ ที่จะช่วยให้คุณเลิกเป็นคนคิดมาก ฟุ้งซ่าน และขี้กังวลได้ดังนี้ 1. สังเกตความคิดของตัวเอง ส่วนสำคัญที่สุดของการทำสมาธิคือ การปล่อยให้ความคิดของคุณลอยผ่านไป แทนที่จะไปยึดติดอยู่กับมันหรือพยายามที่จะหยุดคิดมัน

Details

การพูดถึงสิ่งที่เคยทำจนเป็นนิสัยในอดีต used to ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย

การใช้ used to/ get used to/ และ to be used to และความแตกต่าง   Used to เฉยๆแปลว่า “เคยทำ(แต่ตอนนี้ไม่ทำแล้ว)” ส่วน To be used to และ Get used to แปลว่า “ชินหรือคุ้นเคยกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง”   ส่วนหลักการใช้และโครงสร้างประโยคได้ถูกอธิบายไว้ข้างล่างแล้ว ไปดูกันครับ

Details

การบอกเหตุการณ์ในอดีตด้วยการใช้ time clauses ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย

การบอกเหตุการณ์ในอดีตด้วยการใช้ time clauses Time Clause คือ clause หรือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่แสดงช่วงเวลาโดยมีพื้นฐานจากการกระทำหรือเหตุการณ์มากกว่าช่วงเวลาที่แน่นอน ตัวอย่างเช่นประโยคนี้

Details

มาดูว่าแมกมากับลาวา ต่างกันอย่างไร? ในทางวิทยาศาสตร์

เมื่อพูดถึงแมกมานักธรณีวิทยาหมายความถึงหินหลอมเหลวที่อยู่ใต้เปลือกโลกของเรา แต่หากหินร้อนเหล่านั้นไหลออกมาจากเปลือกโลกนั่นคือลาวา

ประโยชน์และโทษของเทคโนโลยีสารสนเทศ

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ในระบบสารสนเทศนั้นประกอบด้วย 5 ส่วนหลักๆ ได้แก่ บุคลากร ขั้นตอนการทำงาน ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และข้อมูล

Details

เซต (Set) แผนภาพของเวนน์–ออยเลอร์ (Venn-Euler Diagram)

แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์             แผนภาพออยเลอร์(Eulerdiagram)เป็นแผนภาพที่ใช้ในการอธิบายความสัมพันธ์ของเซตต่างๆโดยให้วงกลมแต่ละวงแทนแต่ละเซตและแสดงความสัมพันธ์ของแต่ละเซตด้วยการครอบซึ่งแสดงความเป็นสับเซตการทับซ้อนกันหรือการไม่ทับซ้อนกันซึ่งแสดงว่าทั้งสองเซตไม่มีความสัมพันธ์กัน ลักษณะแผนภาพวงกลมเช่นนี้เชื่อว่าถูกใช้ครั้งแรกโดยนักคณิตศาสตร์ชาวสวิสนามว่าเลออนฮาร์ดออยเลอร์แผนภาพออยเลอร์นั้นมียังลักษณะคล้าย คลึงกันกับแผนภาพเวนน์มากในทฤษฎีเซตซึ่งเป็นแขนงหนึ่งของคณิตศาสตร์จึงนิยมใช้แผนภาพประยุกต์จากแผนภาพทั้งสองในการอธิบายเซตต่าง ๆ ให้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น แผนภาพเวนน์–ออยเลอร์เป็นแผนภาพแสดงความเกี่ยวข้องของเซตต่าง ๆ ซึ่งชื่อที่ใช้เรียกเป็นชื่อของนักคณิตศาสตร์สองคน คือ จอห์น เวนน์ และ เลโอนาร์ด ออยเลอร์

Details