ประเภทของพลาสติกที่ย่อยสลายได้-เคมีกับสิ่งแวดล้อม

ประเภทของพลาสติกย่อยสลายได้ ประเภทของพลาสติกย่อยสลายได้ โดยทั่วไป เราสามารถแบ่งกลไกการย่อยสลายของพลาสติกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ

Details

[เฉลย คณิต PAT 1 ปี 64] : ตอนที่ 7 :(ข้อสอบแนวใหม่) แนว โจทย์ปัญหา ตรีโกณมิติ : ติวคณิตกับพี่อุ๋ย

เฉลยข้อสอบคณิต#PAT1 ปี 64 #ข้อสอบแนวใหม่ น้องๆที่#เตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย และกังวลถึง#ข้อสอบเปลี่ยนแนว สบายใจได้เลย เพราะ พี่อุ๋ย คัดข้อสอบเฉพาะ ข้อที่น่าสนใจและควรรู้ก่อนสอบ มาเฉลยให้โดยละเอียด ตอนที่ 7 ข้อนี้ เป็นข้อสอบ บท ตรีโกณมิติ แต่บอกเลยว่า ไม่ยากครับ เพียงแต่น้องๆที่ทำข้อสอบ PAT1 ปีก่อนๆอาจจะไม่คุ้นชิน เพราะเป็นแนวโจทย์ปัญหา ที่ต้องอ่านและวิเคราะห์แก้ปัญหา แต่ถ้าจับใจความได้แล้วละก็ ข้อนี้หวานหมูมากครับ ไปดูกันเลยดีกว่า ฝากถึงน้องๆในการเตรียมตัวสอบ#DEK65 นะครับ เราห้ามให้ข้อสอบเปลี่ยนแนวไม่ได้ แต่เรา เตรียมตัวให้พร้อม เพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงได้เสมอ พี่อุ๋ยเป็นกำลังใจให้น้องๆ ที่กำลังสู้ เพื่ออนาคต เพื่อตัวเอง เพื่อพ่อแม่ และคนที่ตัวเองรัก นะครับ สู้ๆ น้องทำได้ พี่อุ๋ยเป็นกำลังใจให้ครับ^^ #ติวเลขออนไลน์ #เฉลยข้อสอบ #PAT1ปี64 #เตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย#Dek65#คณิตพี่อุ๋ย #พี่อุ๋ยติวมาสเตอร์

Details

ประวัติความเป็นมาพลาสติก

ประวัติความเป็นมาของพลาสติก มนุษย์ใช้พอลิเมอร์ มาตั้งแต่โบราณกาล ทั้งๆที่ไม่มีใครรู้จักคำว่าพอลิเมอร์มาก่อน       โดยเริ่มจากพอลิเมอร์ธรรมชาติ เช่น ขนสัตว์ ฝ้าย ฯลฯ

Details

กระบวนการผลิตพลาสติก

กระบวนการผลิตเม็ดพลาสติก พลาสติก ที่ใช้กันมากในปัจจุบันอยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ถุง กล่อง ท่อ แผ่นฟิล์ม ส่วนมากมีแหล่งกำเนิดจากปิโตรเลียม ซึ่งรวมถึงน้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติซึ่งเป็นสารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติใต้ผิวดิน และมีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์เพราะเป็นทั้งแหล่งพลังงานและแหล่งวัตถุดิบ สำหรับผลิตวัสดุสังเคราะห์ต่างๆ ปิโตรเลียมจะอยู่ในสถานะเป็นก๊าซ ของเหลว หรือของแข็ง ขึ้นกับอุณหภูมิ, ความดัน, และจำนวนหรือการจัดเรียงตัวของคาร์บอนในโมเลกุล โดยทั่วไปสารไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนไม่เกิน 4 อะตอม จะมีสถานะเป็นก๊าซ ถ้ามีคาร์บอนระหว่าง 5-19 อะตอมจะมีสถานะเป็นของเหลว และถ้ามีคาร์บอนตั้งแต่ 20 อะตอม จะมีสถานะเป็นของแข็ง

Details

แรงดึงดูดระหว่างมวล

แรงดึงดูดระหว่างมวล วัตถุแต่ละชนิดที่มีมวลล้วนแล้วแต่มีแรงที่ดึงดูดเข้าหากัน ส่วนจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของมวลและระยะห่างระหว่างมวล กล่าวคือ ถ้ามีมวลมากก็จะมีแรงดึงดูดเข้าหากันมาก เช่น แรงดึงดูดของโลก เกิดจากมวลของโลกที่ส่งแรงดึงดูดมาที่วัตถุ แต่ขณะเดียวกันวัตถุเองก็ดึงดูดโลกด้วย แต่เราจะสังเกตเห็นว่าวัตถุเคลื่อนที่ตกลงสู่ผิวโลกหรือเคลื่อนที่เข้าหาโลก แทนที่โลกจะเคลื่อนที่เข้าหาวัตถุ นั่นเป็นเพราะโลกมีมวลมากกว่าเมื่อเทียบกับวัตถุ จึงเป็นเรื่องยากที่วัตถุมีมวลมากอย่างโลกจะเคลื่อนที่เข้าหาวัตถุชิ้นเล็ก ๆ นั่นเป็นเพราะความเฉื่อยในการเคลื่อนที่ของโลกนั่นเอง

Details

ผลของแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity)

แรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity) คือ แรงดึงดูดของโลกหรือแรงของโลกที่กระทำต่อมวลของวัตถุทุกชนิดบนโลกและวัตถุที่อยู่ใกล้ผิวโลก โดยจะดึงดูดวัตถุซึ่งกันและกันเข้าสู่ศูนย์กลางของโลกทำให้วัตถุต่างๆ ตกลงสู่พื้นโลกเสมอและทำให้วัตถุมีน้ำหนัก

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ (the Nature of Science)

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ความหมายวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายวิทยาศาสตร์ (Science) ว่า “ความรู้ที่ได้

Details

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต-นิวเคลียส ( Nucleus )-ชีววิทยา

นิวเคลียส ( Nucleus )      มีลักษณะค่อนข้างกลม เป็นโครงสร้างของเซลล์ที่เห็นชัดอยู่ตรงกลางเซลล์ ทำหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์ ถูกควบคุมโดยคำสั่งจากนิวเคลียสมีสารประกอบทางเคมีของนิวเคลียส ประกอบด้วย

Details

ฟิสิกส์ความแตกต่างระหว่างความร้อนและอุณหภูมิ

ความแตกต่างพื้นฐานระหว่างความร้อนและอุณหภูมินั้นเล็กน้อย แต่สำคัญความร้อนคือพลังงานโดยรวมของการเคลื่อนที่ของโมเลกุลในขณะที่อุณหภูมิคือพลังงานเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ดังนั้นเรามาดูบทความด้านล่างซึ่งเราได้ทำให้ทั้งสองอย่างง่ายขึ้นสำหรับคุณ

คอร์สเรียนฟิสิกส์ -ระยะทาง การกระจัด

ระยะทางและการกระจัด ระยะทางและการกระจัด                 ในขณะที่เราเคลื่อนที่ เราจะเปลี่ยนตำแหน่งที่อยู่ตลอดแนว เช่น ขณะเราขับรถยนต์ไปตามท้องถนน เราจะเคลื่อนที่ผ่านถนน ถนนอาจเป็นทางตรง ทางโค้ง หรือหักเป็นมุมฉาก ระยะทางที่รถเคลื่อนที่อาจเป็นระยะทางตามตัวเลขที่ราบของการเคลื่อนที่ แต่หากบางครั้งเราจะพบว่า จุดปลายทางที่เราเดินทางห่างจากจุดต้นทางในแนวเส้นตรง หรือในแนวสายตาไม่มากนัก

Details