การวิจัยและพัฒนา (R&D)เพื่อการพัฒนาประเทศ

 ปัจจัยพื้นฐานประการหนึ่งซึ่งจะช่วยให้บริษัทสามารถดำเนินกิจกรรมการวิจัยและพัฒนาและการทำนวัตกรรมได้อย่างประสบความสำเร็จคือ การเข้าใจถึงความหมายและความแตกต่างของกิจกรรมทั้ง 2 อย่างนี้ในที่นี้จึงขอยกคำนิยามของการวิจัยและพัฒนาและนวัตกรรม ที่สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้ให้ไว้มาเปรียบเทียบเพื่อให้เห็นความแตกต่าง

เทคโนโลยี e-learning คืออะไร?

 ความหมายของ E-learning ถูก ตีความต่างกันไปตามประสบการณ์ของแต่ละคน แต่มีส่วนที่เหมือนกันคือใช้เทคโนโลยี เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ โดยมีการพัฒนาตลอดเวลา ตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยี สำหรับผู้เขียนให้ความหมายของ E-learning ว่าเป็น “การใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ตเข้ามาส่งเสริมการเรียน การสอน ให้เกิดประสิทธิผล”

โอเมก้า 6 คืออะไร?-ชีววิทยา

โอเมก้า 6 คืออะไร? โอเมก้า 6 เป็นกรดไขมันแบบไม่อิ่มตัว ร่างกายไม่สามารถสร้างเองได้เช่นเดียวกันกับ โอเมก้า 3 แต่เราสามารถได้รับจากการรับประทานอาหาร กรดไขมันโอเมก้า 6 ที่สำคัญมีอยู่ 2 ประเภท คือ กรดไขมันไลโนเลอิก (Linoleic acid : LA) และกรดไขมันอะราคิโดนิก (Arachidonic acid : ARA) พบมากในในน้ำมันพืชต่างๆ เช่น น้ำมันถั่วเหลือง ดอกทานตะวัน ข้าวโพด เป็นต้น

Details

โอเมก้า 3 คืออะไร?-ชีววิทยา

โอเมก้า 3 คืออะไร? โอเมก้า 3 คือกลุ่มของกรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยวชนิดหนึ่ง เป็นกรดไขมันที่มีความจำเป็นต่อร่างกายอย่างมาก ร่างกายของคนเราขาดโอเมก้า 3 ไม่ได้ แต่กลับไม่สามารถสร้างขึ้นมาเองได้ ฉะนั้นจึงต้องได้รับจากการทานอาหารที่มีปริมาณโอเมก้า 3 แทน

Details

เชื้อรา-อาณาจักรฟังไจ-ชีววิทยา

เชื้อรา เราอาจเรียกอีกอย่างว่า อาณาจักรเห็ดรา สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรฟังไจ ประกอบด้วย รา เห็ด และยีสต์

Details

อันตรายจากการกินเค็มเกินปริมาณ

เกลือ มีหน้าที่รักษาสมดุลน้ำ  ทุกครั้งที่ความเค็มมาสัมผัสกับลิ้น สิ่งที่ตามมาด้วยก็คงจะหนีไม่พ้น เกลือในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งโดยปกติแล้วเกลือ หรือโซเดียม

Details

สมบัติสารประกอบไอออนิก-เคมี ม.ปลาย

จากลักษณะการสร้างพันธะไอออนิก  ซึ่งมีแรงยึดเหนี่ยวต่อเนื่องกันเป็นผลึก  และลักษณะอะตอมของธาตุที่มีประจุเป็นไอออนบวกและไอออนลบรวมกันอยู่  ส่งผลให้สารประกอบไอออนิกมีสมบัติต่าง ๆ ดังนี้

สารประกอบไอออนิก (Ionic compound)-เคมี ม.ปลาย

พันธะไอออนิก ( Ionic bond ) หมายถึงแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสารประกอบที่เกิดขึ้นระหว่าง 2 อะตอมอะตอมที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่างกันมาก อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีน้อยจะให้อิเลคตรอนแก่อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีมาก และทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ อะตอมครบ 8 (octat rule) กลายเป็นไอออนบวก และไอออนลบตามลำดับ เกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ และเกิดเป็นโมเลกุลขึ้น เช่น การเกิดสารประกอบ NaCl

เส้นใยนำแสง (Fiber Optic)

เส้นใยนำแสง เส้นใยนำแสงหรือเส้นใยแก้วนำแสง ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ ตัวกลางนำแสง ที่เรียกว่า แกน (core) ทำจากวัสดุใสที่มีดัชนีหักเหของแสงประมาณ 1.6

Details