ทศนิยมและเศษส่วน (decimals and fractions)

ทศนิยมและเศษส่วน ทศนิยม ทศนิยมได้ถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวันอย่างกว้างขวาง เช่น การวัดความยาว อุณหภูมิของอากาศ การคิดราคาสินค้า การคิดภาษี เป็นต้น ทั้งนี้ เนื่องจากการใช้หน่วยที่เป็นจำนวนเต็มนั้นไม่เพียงพอ ยังมีปริมาณที่เป็นเศษของหน่วยหรือไม่เต็มหน่วย จึงต้องมีระบบการเขียนตัวเลขแทนปริมาณเหล่านั้น ที่เรียกว่า ระบบทศนิยม ซึ่งตกลงกันเป็นสากลให้ใช้ จุด ” . ” เรียกว่า “จุดทศนิยม” คั่นระหว่างจำนวนเต็มกับ เศษของหน่วย

Details

ตัวหารร่วมมาก และ ตัวคูณร่วมน้อย

ตัวประกอบและการหาตัวประกอบ จำนวนนับ คือ จำนวนเต็มบวก ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, … การหารลงตัว คือ การหารที่ไม่มีเศษ หรือเศษเป็น “0” ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ คือ จำนวนนับที่นำไปหารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว จำนวนเฉพาะ คือ จำนวนนับที่มีตัวประกอบเพียงสองตัว คือ 1 กับจำนวนนับนั้น ตัวประกอบเฉพาะ คือ ตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบของจำนวนใด ๆ คือ การเขียนจำนวนนั้นในรูป ผลคูณของตัวประกอบเฉพาะ (อาจจะมีตัวประกอบมากกว่า 2 จำนวน ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) คือ ตัวหารร่วม (หรือตัวประกอบร่วม) ที่มีค่ามากที่สุด ที่นำไปหารจำนวนนับชุดใด(ตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป) ได้ลงตัว เช่น ห.ร.ม. ของ 12 และ 16 คือ 4 เพราะ 4 คือจำนวนที่มากที่สุดที่หารทั้ง 12 และ…

Details

เลือกเรียนหมอที่ไหนดี? มีคณะแพทย์ของมหาวิทยาลัยที่เด็กไทยนิยม

มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดของไทย มีที่ไหนกันบ้าง? 1. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด และเป็นคณะแพทยศาสตร์ที่ได้รับความเชื่อถือจากประชาชนมากที่สุดของประเทศไทย ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 130 รุ่น

Details

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ม.4 (Relations and Functions)

 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 1)คู่อันดับ : เขียนคู่อันดับในรูป (a,b) โดยที่  a เป็นสมาชิกตัวหน้า และ  b เป็นสมาชิกตัวคู่หลัง คู่อันดับสองคู่อันดับใดๆ จะเท่ากัน ก็ต่อเมื่อสมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลังของทั้งสองคู่อันดับนี้เท่านั้น (a, b) = (c,d) เมื่อ a= c และ  b = d

Details

TGAT/TPAT ใน TCAS66 สอบอะไรบ้าง?

TGAT3 93 สมรรถนะการทำงาน 1. การสร้างคุณค่าและนวัตกรรม (15 ข้อ) 1.1 การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical thinking) ความเข้าใจในการกำหนดวิธีการรวบรวมประเด็น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น รวมทั้งมีหลักการในการสรุปผลการวิเคราะห์และแยกแยะข้อมูลที่ได้รับออกเป็นปัจจัยย่อย ๆ เช่น สาเหตุ ผลลัพธ์ ผลกระทบ ข้อเสนอแนะ และผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น

Details

เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนท์

จำลองทางคณิตศาสตร์ หรือ ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model) สำหรับแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์มีหลากหลายรูปแบบ ดังที่กล่าวในมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ว่า สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.2     ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model) อื่นๆ แทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนำไปใช้แก้ปัญหา

Details

พื้นฐานทางเรขาคณิต

พื้นฐานทางเรขาคณิต เรื่อง จุด เส้นตรง ส่วนของเส้นตรง รังสี และมุม ในทางคณิตศาสตร์มีค่าบางค่าที่ใช้เป็นพื้นฐานในการสื่อความหมาย  โดยไม่ต้องให้นิยาม คำเหล่านี้เป็นคำอนิยาม  และในทางเรขาคณิตถือว่า จุด เส้นตรง และระนาบ เป็นคำอนิยาม จุด   ใช้เพื่อแสดงตำแหน่ง สัญลักษณ์ที่ใช้คือ .  และเขียนตัวอักษรกำกับไว้เพื่อต้องการระบุชื่อจุด

Details