ภาษาจีนพื้นฐาน-ตัวอักษรในภาษาจีน

ตัวอักษรในภาษาจีน   พยัญชนะ สระ และ วรรณยุกต์ในภาษาจีน, การอ่านตัวสะกดหรือพินอิน (拼音)ภาษาจีน ภาษาจีนเป็นภาษารูปภาพ ไม่ใช่ภาษาสะกดผสมอักษรดังเช่นภาษาไทย จึงควรศึกษาวิธีเขียนอ่านตัวสะกดภาษาจีนเอาไว้ เพื่อเวลาพบอักษรตัวใดที่อ่านไม่ออก หรือไม่มั่นใจในการออกเสียง สามารถเปิดค้นหาอ่านในพจนานุกรม และใช้แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ เพื่อพิมพ์ภาษาจีนแบบสะกดคำได้

Details

ภาษาจีนพื้นฐาน พยัญชนะ และ สระ 

ระบบการสัทอักษรภาษาจีนกลาง (Pinyin) ตัวพยัญชนะ สระ และเสียงวรรณยุกต์ วิเคราะห์เทียบเสียงกับภาษาไทย หลักเบื้องจีนการเขียนตัวอักษรจีน ศึกษาเส้นขีดต่างๆของตัวอักษรจีนกฎเกณฑ์ระเบียบในการเขียนตัวอักษรจีน การสนทนาทักทายในชีวิตประจำวันเช่น การกล่าวทักทายสวัสดี ถามตอบชื่อ-สกุล กล่าวคำอำลา คำขอบคุณ การบอกวันเวลา สถานที่ การนับเลข คำศัพท์ที่ใกล้ตัวและเกี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน ตลอดจนโครงสร้างรูปประโยค ไวยากรณ์ การใช้คำต่างๆ เกร็ดความรู้ที่มาของแต่ๆละเส้นขีดของตัวอักษรจีน

ศัพท์ภาษาจีนเบื้องต้นเกี่ยวกับสถานที่ และ ของใช้ต่าง ๆ

ศัพท์ภาษาจีนเบื้องต้นเกี่ยวกับสถานที่ รู้ภาษาจีนเบื้องต้น ที่จะช่วยทำให้คุณสื่อสารภาษาจีนเก่งขึ้น

Details

กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ คณิตศาสตร์ ม.5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ จะเห็นได้ว่า ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ทุกฟังก์ชัน เป็นฟังก์ชันที่เป็นคาบ (Periodic Function) กล่าวคือ สามารถแบ่งแกน x ออกเป็นช่วงย่อย (Subinterval) โดยที่ความยาวแต่ละช่วงย่อยเท่ากัน

Details

ตรีโกณมิติคืออะไร ?

ตรีโกณมิติคืออะไร ? ตรีโกณมิติ (จากภาษากรีก trigonon มุม 3 มุม และ metro การวัด) เป็นสาขาของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมุม, รูปสามเหลี่ยม และฟังก์ชันตรีโกณมิติ แม้ว่าจะสรุปไม่ได้อย่างแน่ชัดว่า ตรีโกณมิติเป็นหัวข้อย่อยของเรขาคณิต

Details

มาดูเทคนิคฝึกอ่านหนังสือให้เร็วขึ้นและจำได้แม่นยำ

มาดูเทคนิคฝึกอ่านหนังสือให้เร็วขึ้นและจำได้แม่นยำ แบ่งเวลาอ่านหนังสือและเวลาพักออกเป็นส่วน ๆ ดังนี้

Details

ตรรกศาสตร์ ม.4 ประพจน์ที่สมมูลกัน

ประพจน์ที่สมมูลกัน ประพจน์  2  ประพจน์ที่สมมูลกัน  ก็ต่อเมื่อ  ประพจน์ทั้งสองมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณีของค่าความจริงของประพจน์ย่อย ตัวอย่างประพจน์ที่สมมูลกันที่ควรทราบมีดังนี้ ประพจน์ที่สมมูลกัน ประพจน์ที่สมมูลกัน หมายถึง รูปแบบของประพจน์สองรูปแบบที่มีค่าความจริงตรงกัน  กรณีต่อกรณี และสามารถนำไปใช้แทนกันได้

Details

ตรรกศาสตร์ ม.4 การหาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์

ค่าความจริงประพจน์ ในการเชื่อมประพจน์นั้นบางครั้งจะต้องใช้ตัวเชื่อมหลายตัวมาเชื่อมประพจน์ ซึ่งอาจทำให้เกิดปัญหาในการหาค่าความจริงว่าควรที่จะเริ่มต้นที่ตัวใดก่อน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการลำดับสัญลักษณ์ที่ “คลุมความ” มากที่สุดและรองลงมาตามลำดับ ตารางความจริง คือ ตารางที่สร้างขึ้นเพื่อใช้หาค่าความจริงของประพจน์

Details