การเปรียบเทียบความเท่ากัน as+adj/adv+as ตัวอย่างประโยค

การเปรียบเทียบความเท่ากัน as+adj/adv+as ตัวอย่างประโยค การใช้คำเปรียบเทียบ แบบเท่ากัน หรือ Comparison of Equality /คอมแพริซัน ออฟ อีควอลลิดี ซึ่งจะมีโครงสร้างการ เปรียบเทียบด้วย as + คำคุณศัพท์ หรือ คำกริยาวิเศษณ์ + as เช่น สูงเท่ากันกับ as tall as เป็นต้น

Details

สรุปทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น – คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

สรุปเนื้อหาเรื่อง ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น นิยาม : ให้ m และ n เป็นจำนวนเต็มโดยที่ n หาร m ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจำนวน q ที่ทำให้ m = nq

Details

สัจพจน์ความบริบูรณ์-จำนวนจริง (Real number)คณิตศาสตร์ออนไลน์

สัจพจน์ความบริบูรณ์ สัจพจน์ความบริบูรณ์ หรือสัจพจน์การมีค่าขอบเขตบนน้อยสุด (Least upper bound axiom)

Details

รูปแบบของประพจน์ที่นิเสธกันและสัจนิรันดร์-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

 ประพจน์ที่เป็นนิเสธกัน     ประพจน์ 2 ประพจน์เป็นนิเสธกัน ก็ต่อเมื่อ ประพจน์ทั้งสองมีค่าความจริงตรงข้ามกันทุกกรณีของค่าความจริงของประพจน์ย่อย

Details

เมทริกซ์ผกผันหรืออินเวอร์สเมทริกซ์ (Inverse Matrix)

เมทริกซ์ผกผันหรืออินเวอร์สเมทริกซ์ (Inverse Matrix)            อินเวอร์สของเมตริกซ์ในที่นี้  หมายถึงอินเวอร์สของการคูณของเมตริกซ์ ซึ่งเมตริกซ์ที่จะหาอินเวอร์สได้นั้นจะต้องมีค่ากำหนดไม่เท่ากับศูนย์ อินเวอร์สของเมตริกซ์ A จะใช้สัญญาลักษณ์ A-1 ทั้งนี้ A A-1= A-1A

Details

เมทริกซ์เอกลักษณ์ คณิตศาสตร์ออนไลน์

เมทริกซ์เอกลักษณ์      เมทริกซ์เอกลักษณ์สำหรับการคูณ   คือ  เมทริกซ์จัตุรัสที่มีสมาชิกในแนวเส้นทแยงมุมหลักเท่ากับ 1 โดยตลอด ส่วนสมาชิกตัวอื่นมีค่าเป็นศูนย์หมด

Details

รู้จักและอำนาจหน้าที่ของ ผู้ว่าฯ กทมกัน

ทำหน้าที่อะไร?           สำหรับตำแหน่ง ผู้ว่าฯกทม. มีผู้ดำรงตำแหน่งมาแล้วกว่า 16 คน ตลอด 49 ปี โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528ในมาตรา 49 กำหนดให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มีอำนาจหน้าที่ดังนี้

Details

ตรีโกณมิติในชีวิตประจำวัน-คณิตศาสตร์รอบตัว

ความคิดเกี่ยวกับตรีโกณมิติในชีวิตประจำวัน มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์ต่อกัน มนุษย์สังเกตปรากฎการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ โดยเฉพาะในเรื่องดาราศาสตร์ เพราะเป็นเรื่องที่พบเห็นทุกวัน เริ่มตั้งแต่การขึ้น ตก ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวต่าง ๆ หากเราสังเกตการเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งดวงดาวต่าง ๆ เมื่อเทียบกับเวลาต่าง ๆ ในรอบปี เราจะพบกับสิ่งที่ชวนคิดหลาย ๆ อย่าง เช่น ดวงอาทิตย์ขึ้นตำแหน่งเดียวกันตลอดทั้งปีหรือไม่ ทำไมแต่ละวันดวงอาทิตย์จึงขึ้นจากขอบฟ้าไม่ตรงเวลาเดียวกัน ความคิดในเรื่องทรงกลมท้องฟ้าที่มองเห็นทำให้เกิดจินตนาการ และหาหนทางเรียนรู้ โดยใช้วิชาการทางคณิตศาสตร์

Details

ระบบจำนวนเต็ม(Integer)คณิตศาสตร์พื้นฐาน

จำนวนซึ่งมนุษย์คิดขึ้นเป็นครั้งแรก เป็นจำนวนที่ใช้สำหรับนับสิ่งของ นับสัตว์เลี้ยง เมื่อนำจำนวนเหล่านี้มาเขียนเป็นเซต เรียกว่า เซตของจำนวนนับ โดยแทนชื่อเซตนี้ด้วย.. N .. คือ   N = {1, 2, 3, 4, 5}สมบัติของจำนวนนับ เมื่อนำจำนวนนับมาบวกกัน ผลบวกที่ได้จะเป็นจำนวนนับเสมอ สมบัติข้อนี้เรียกว่า สมบัติปิดของการบวก และเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ด้วย “ ถ้า …. a  ∈ N และ.. b  ∈ N.. แล้ว.. a+b  ∈ N ”