ปลาทะเลน้ำลึกที่มีโอเมก้า 3 สูง

ก่อนอื่นเลยเพื่อให้คุณผู้อ่านเข้าใจง่ายขึ้นนะคะ เนื่องจากโอเมก้า 3 ในปลานั้นไม่ได้แค่มีเฉพาะในปลาทะเลน้ำลึกเท่านั้น แต่ในบ่อปลาน้ำจืดบ้านเรานั้นปลาก็มีโอเมก้า 3 ค่า! เพราะฉะนั้นจะขอแบ่งส่วนปลาทะเลน้ำลึก ปลาทะเลไทย และปลาน้ำจืด ให้เข้าใจกันง่ายๆ ดีกว่าเนอะ แค่เราทราบว่าปลาในบ่อน้ำจืดบ้านเรามีโอเมก้า 3 สูงไม่แพ้ปลาทะเลน้ำลึกที่ต้องไปงมหาไกลแสนไกลและยังต้องอิมพอร์ตเข้ามาในประเทศไทย อีกทั้งยังราคาแสนเจ็บปวดขนาดที่ไม่คิดว่าจะซื้อทานได้บ่อยๆ เป็นแน่แท้ ก็เพราะอย่างนี้เราจึงไปหาข้อมูลมาบอกกันเพื่อให้ยิ้มออกว่าไม่ต้องมองไหนไกลเลย

มารู้กับ การใช้งานระบบ Cluster Computing System

ระบบคลัสเตอร์ หรือคลัสเตอริ่ง เป็นการเชื่อมต่อระบบการทำงานของกลุ่มคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายใต้ระบบเครือข่ายความเร็วสูง มีความสามารถในการกระจายงานที่ทำไปยังเครื่อง ภายในระบบเพื่อให้การประมวลผลมีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยอาจเทียบเท่าซุปเปอร์คอมพิวเตอร์หรือสูงกว่าสำหรับการประมวลผลงานที่มีความซับซ้อนโดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น การจำลองโครงสร้างของโมเลกุลทางเคมี, การวิเคราะห์เกี่ยวกับตำแหน่งการเกิดพายุสุริยะ, การวิเคราะห์ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ เป็นต้น

คณิตศาสตร์ ความน่าจะเป็น-วิธีเรียงสับเปลี่ยน คลังความรู้ เลข ม.ปลาย

วิธีเรียงสับเปลี่ยน 1. วิธีการเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด หมายถึง การนำสิ่งของที่มีลักษณะที่แตกต่างกันทั้งหมดมาจัดเรียงสับเปลี่ยน โดยถือตำแหน่งหรือลำดับก่อนหลังเป็นสำคัญ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ

Details

คณิตศาสตร์ ความน่าจะเป็น สรุปทฤษฎีบททวินาม

ทฤษฎีบททวินาม   ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงสูตรของการกระจาย    (  x  +  y  )2      เมื่อ  x, y  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ  n  เป็นจำนวนเต็มบวก

Details

หลักการนับเบื้องต้น-กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ

กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ เเผนภาพต้นไม้ ในการหาวิธีต่างๆในชีวิตประจำวันนั้น เราจะใช้กฏการนับปกติ โดยกฏการนับนั้นหากไม่ใช้การคำนวณ จะใช้ “เเผนภาพต้นไม้” ในการค้นหา โดยเเผน ภาพต้นไม้นั้นจะมีลักษณะลากยาวไปเรื่อยๆจนถึงขั้นสุดท้ายเเละนับว่ามีกี่วิธี

Details

สรุปสมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

จำนวนจริง จำนวนตรรกยะ (rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์ และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้

Details

ตัวประกอบของจำนวนนับ‎-การแยกตัวประกอบ และการหาตัวหารร่วม

ตัวประกอบ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับที่เรากำหนดให้ได้ลงตัว เช่น a จะเป็นตัวประกอบของ b ก็ต่อเมื่อ b หารด้วย a ลงตัว หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ a หาร b ลงตัว

ตัวประกอบของจำนวนนับ‎ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) และ ตัวคูณร่วมมาก (ห.ร.ม.)

ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) น้องๆ ทราบหรือไม่ว่า การหาตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) ของจำนวนนับตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไปนั้น เป็นการหาตัวตั้งร่วมหรือพหุคูณร่วมที่มีค่าน้อยที่สุดของจำนวนนับเหล่านั้น บทความนี้ได้รวบรวม ตัวอย่าง ค.ร.น. พร้อมทั้งแสดงวิธีทำอย่างละเอียด โดยมีวิธี การหา ค.ร.น. ทั้งหมด 3 วิธี ดังนี้

Details