การให้เหตุผล-ทางคณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ ม.4)

 การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ (หรือการอ้างเหตุผล) คือ กระบวนการคิดของมนุษย์ และสื่อความหมายกับผู้อื่นด้วยภาษา ซึ่งประกอบด้วยข้อความ หรือประโยคกลุ่มหนึ่งที่ยกขึ้นมาเพื่อสนับสนุนให้ได้ข้อความ หรือประโยคตามมา มักจะแสดงในส่วนของ เหตุ เราเรียกข้อความกลุ่มแรกนี้ว่า ข้ออ้าง (Premisses) และข้อความอีกชุดหนึ่งที่แสดงในส่วนของ ผล จะถูกเรียกว่า ข้อสรุป (Conclusion)

พื้นที่ผิวและปริมาตร-คณิตศาสตร์

พื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด การเรียกชื่อพีระมิด การเรียกชื่อพีระมิด นิยมเรียกชื่อตามลักษณะรูปเหลี่ยมของฐาน ตัวอย่างเช่น พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า พีระมิดฐานหกเหลี่ยม เป็นต้น

Details

ตัวเลขสำคัญทางเศรษฐกิจ GDP ที่นักลงทุนมารู้จักว่า GDP คือ อะไร?

GDP คือ อะไร? GDP ย่อมาจาก Gross Domestic Product หรือแปลเป็นไทยว่าผลิตภัณฑ์รวมในประเทศ แปลจากไทยเป็นไทยอีกที คือ การที่นับรายได้ที่เกิดขึ้นจากในประเทศเท่านั้น ไม่ว่าจะสัญชาติใดก็ตาม โดย GDP ประเทศไทย จะนับการคำนวณเฉพาะรายได้ที่เกิดขึ้นในไทยเท่านั้น แต่ถ้าเป็นคนไทย แล้วมีรายได้ที่ต่างประเทศ ไม่นับนะจ๊ะ อันนั้นเรียก GNP : Gross National Product ที่จะนับเฉพาะรายได้จากคนไทยเท่านั้น ไม่ว่าจะอยู่ประเทศใดในโลกนี้ก็ตาม

Details

ปรากฏการณ์คลื่น- บีตส์ (Beat) ฟิสิกส์ ม.ปลาย

บีตส์ (Beat) เกิดขึ้นเมื่อเสียงจากแหล่งกำเนิดสองแหล่งที่ความถี่ต่างกันเล็กน้อย เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางเดียวกันในเวลาและทิศเดียวกัน ก็จะรวมกัน ตามหลักการซ้อนทับของคลื่นทำให้คลื่นรวมที่ได้เคลื่อนที่ผ่านผู้ฟังซึ่งอยู่กับที่เป็นเสียงดังค่อย ดังค่อยสลับกันไปเป็นจังหวะที่คงตัว เรียกว่า บีตส์ของเสียง หูของคนเราสามารถแยกเสียงบีตส์ เมื่อความถี่บีตส์มีค่าไม่เกิน 7 เฮิรตซ์

ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกรางวัลโนเบลของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ฟิสิกส์ ม.ปลาย

 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)‎ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก (Photoelectric Effect) เป็นทฤษฎีที่ใช้อธิบายคุณสมบัติของแสงในรูปแบบของอนุภาค ที่เรียกว่า “โฟตอน” (Photon) จากเดิม (Classical Physics) ที่อธิบายคุณสมบัติของแสงในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

Details

วิธี ที่จะทำให้เลิกเป็นคนคิดมาก ฟุ้งซ่าน ขี้กังวล

วิธีหลัก ๆ ที่จะช่วยให้คุณเลิกเป็นคนคิดมาก ฟุ้งซ่าน และขี้กังวลได้ดังนี้ 1. สังเกตความคิดของตัวเอง ส่วนสำคัญที่สุดของการทำสมาธิคือ การปล่อยให้ความคิดของคุณลอยผ่านไป แทนที่จะไปยึดติดอยู่กับมันหรือพยายามที่จะหยุดคิดมัน

Details

การพูดถึงสิ่งที่เคยทำจนเป็นนิสัยในอดีต used to ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย

การใช้ used to/ get used to/ และ to be used to และความแตกต่าง   Used to เฉยๆแปลว่า “เคยทำ(แต่ตอนนี้ไม่ทำแล้ว)” ส่วน To be used to และ Get used to แปลว่า “ชินหรือคุ้นเคยกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง”   ส่วนหลักการใช้และโครงสร้างประโยคได้ถูกอธิบายไว้ข้างล่างแล้ว ไปดูกันครับ

Details

การบอกเหตุการณ์ในอดีตด้วยการใช้ time clauses ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย

การบอกเหตุการณ์ในอดีตด้วยการใช้ time clauses Time Clause คือ clause หรือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่แสดงช่วงเวลาโดยมีพื้นฐานจากการกระทำหรือเหตุการณ์มากกว่าช่วงเวลาที่แน่นอน ตัวอย่างเช่นประโยคนี้

Details

มาดูว่าแมกมากับลาวา ต่างกันอย่างไร? ในทางวิทยาศาสตร์

เมื่อพูดถึงแมกมานักธรณีวิทยาหมายความถึงหินหลอมเหลวที่อยู่ใต้เปลือกโลกของเรา แต่หากหินร้อนเหล่านั้นไหลออกมาจากเปลือกโลกนั่นคือลาวา