เซลล์ของสิ่งมีชีวิต-นิวเคลียส ( Nucleus )-ชีววิทยา

นิวเคลียส ( Nucleus )      มีลักษณะค่อนข้างกลม เป็นโครงสร้างของเซลล์ที่เห็นชัดอยู่ตรงกลางเซลล์ ทำหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์ ถูกควบคุมโดยคำสั่งจากนิวเคลียสมีสารประกอบทางเคมีของนิวเคลียส ประกอบด้วย

Details

ฟิสิกส์ความแตกต่างระหว่างความร้อนและอุณหภูมิ

ความแตกต่างพื้นฐานระหว่างความร้อนและอุณหภูมินั้นเล็กน้อย แต่สำคัญความร้อนคือพลังงานโดยรวมของการเคลื่อนที่ของโมเลกุลในขณะที่อุณหภูมิคือพลังงานเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ดังนั้นเรามาดูบทความด้านล่างซึ่งเราได้ทำให้ทั้งสองอย่างง่ายขึ้นสำหรับคุณ

คอร์สเรียนฟิสิกส์ -ระยะทาง การกระจัด

ระยะทางและการกระจัด ระยะทางและการกระจัด                 ในขณะที่เราเคลื่อนที่ เราจะเปลี่ยนตำแหน่งที่อยู่ตลอดแนว เช่น ขณะเราขับรถยนต์ไปตามท้องถนน เราจะเคลื่อนที่ผ่านถนน ถนนอาจเป็นทางตรง ทางโค้ง หรือหักเป็นมุมฉาก ระยะทางที่รถเคลื่อนที่อาจเป็นระยะทางตามตัวเลขที่ราบของการเคลื่อนที่ แต่หากบางครั้งเราจะพบว่า จุดปลายทางที่เราเดินทางห่างจากจุดต้นทางในแนวเส้นตรง หรือในแนวสายตาไม่มากนัก

Details

James Clerk Maxwell นักวิทยาศาสตร์ผู้ทรงอิทธิพล ด้านแม่เหล็กไฟฟ้า

James Clerk Maxwell มีผลงานของเขาเกี่ยวข้องกับแม่เหล็ก ไฟฟ้า และแสง ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากต่อวงการวิทยาศาสตร์ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เขาได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็น “บิดาแห่งฟิสิกส์สมัยใหม่” ผลงานของเขายังเป็นรากฐานสำคัญให้แก่วงการคณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ (Logical Thinking)

หลักการและเหตุผล ปัญหาคือ “ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นและไม่ตรงกับความคาดหวังหรือสิ่งที่ควรจะเป็น” การแก้ปัญหาเป็นกระบวนการทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเกี่ยวข้องกับการทำงานของสมอง (การคิด) และพฤติกรรมที่ใช้แก้ปัญหา

Details

ตรรกศาสตร์กับคอมพิวเตอร์ (Computer and Logical)-คณิตศาสตร์

ตรรกศาสตร์กับคอมพิวเตอร์ (Computer and Logical) ตรรกศาสตร์ (Logic) ตรรกศาสตร์ (Logic) เป็นศาสตร์ที่มีความสำคัญมากในหลักการที่ว่าด้วย การหาเหตุและผล ซึ่งจะมีค่าความจริงที่เป็นจริง (Truth)

Details

พลังงานความร้อนใต้พิภพ (geothermal energy)-ชีววิทยา

พลังงานความร้อนใต้พิภพ คือ พลังงานธรรมชาติที่เกิดจากความร้อนที่ถูกกักเก็บอยู่ภายใต้ผิวโลก

วัตถุในแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Objects) – สุริยะจักรวาล

นับว่าเป็นเวลานานกว่าทศวรรษแล้วที่นักดาราศาสตร์ได้มีการค้นพบแถบไคเปอร์ ซึ่งแถบไคเปอร์เป็นส่วนหนึ่งของระบบสุริยะ และอยู่บริเวณขอบรอบนอกเลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ประกอบด้วยวัตถุจำพวกดาวเคราะห์น้อยที่มีน้ำแข็งมากคล้ายหัวดาวหาง ปัจจุบันนักดาราศาสตร์ได้พบวัตถุแถบไคเปอร์มาแล้วกว่า 700 ดวง และพบว่าขอบเขตของแถบไคเปอร์ด้านนอกอยู่ที่ประมาณ 50 หน่วยดาราศาสตร์จากดวงอาทิตย์ พ้นขอบเขตนี้ไปแทบไม่มีวัตถุแถบไคเปอร์อยู่เลย หรือถ้ามีก็ขนาดเล็กมากกว่า 200 กิโลเมตร

มารู้จักเกรกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) นักพฤกษศาสตร์ -ชีววิทยา

เกรเกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) เป็นบาทหลวงและนักพฤกษศาสตร์ชาวออสเตรียผู้ค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมอันเป็นพื้นฐานสำคัญของวิชาพันธุศาสตร์สมัยใหม่จากการทดลองผสมพันธ์ุต้นถั่วต่างพันธุ์ที่มีลักษณะ

[เฉลย คณิต PAT 1 ปี 64] : ตอนที่ 6 :(ข้อสอบแนวใหม่) แนว โจทย์ปัญหา ลำดับอนุกรม: ติวคณิตกับพี่อุ๋ย

เฉลยข้อสอบคณิต#PAT1 ปี 64 #ข้อสอบแนวใหม่ น้องๆที่#เตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย และกังวลถึง#ข้อสอบเปลี่ยนแนว สบายใจได้เลย เพราะ พี่อุ๋ย คัดข้อสอบเฉพาะ ข้อที่น่าสนใจและควรรู้ก่อนสอบ มาเฉลยให้โดยละเอียด ตอนที่ 6 ข้อนี้น่าสนใจมากๆ เป็นแนวโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับ ลำดับและอนุกรม บทสุดหลอนอีกบท ของใครหลายคน แถมข้อนี้ยังพ่วงด้วยการแปลโจทย์ที่เราไม่คุ้นชิน ผสมการแก้ อสมการ log เข้าไปอีก เรียกว่าเป็นโจทย์สุดโหดข้อหนึ่ง ที่น่าสนใจมากๆ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันได้เลยจ้า ฝากถึงน้องๆในการเตรียมตัวสอบ#DEK65 นะครับ เราห้ามให้ข้อสอบเปลี่ยนแนวไม่ได้ แต่เรา เตรียมตัวให้พร้อม เพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงได้เสมอ พี่อุ๋ยเป็นกำลังใจให้น้องๆ ที่กำลังสู้ เพื่ออนาคต เพื่อตัวเอง เพื่อพ่อแม่ และคนที่ตัวเองรัก นะครับ สู้ๆ น้องทำได้ พี่อุ๋ยเป็นกำลังใจให้ครับ^^ #ติวเลขออนไลน์ #เฉลยข้อสอบ #PAT1ปี64 #เตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย#Dek65#คณิตพี่อุ๋ย #พี่อุ๋ยติวมาสเตอร์

Details